Wednesday, October 22, 2008

หน่วยการเรียน หน่วย เรื่อง ฝน วันที่ 30 มิถุนายน - 4 กรกฏาคม 2551


ภาพที่ 1 ภาพสื่อการสอน เรื่องฝน สอนเรื่องการเกิดฝน ซึ่งฝนเกิดจากน้ำ ระเหยเป็นไอ กลายเป็นเมฆใหญ่ อยู่ในท้องฟ้า เมื่อเจอความร้อน ตกย้อนลงมา ชาวไร่ ชาวนา ได้น้ำฉ่ำเย็น





แผนการจัดประสบการณ์ เรื่อง ฝน

วันที่ 1 กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
จุดประสงค์

1. เด็กตั้งใจฟังและปฏิบัติตามสัญญาณได้
2. เด็กเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายได้
3. เด็กมีความคิดและจินตนาการในการเคลื่อนไหวได้
4. เด็ก
ปฏิบัติตนเป็นผู้นำ ผู้ตามในการเคลื่อนไหวได้

เนื้อหา
1. การฟังและปฏิบัติตามสัญญาณ
2. การเป็นผู้นำ ผู้ตาม

กิจกรรม
1. เด็กปฏิบัติกิจกรรมเคลื่อนไหวพื้นฐานโดยให้เคลื่อนไหวประกอบเพลง หากว่าเรากำลังสบายจงตบมือพลัน ยักไหล่ ยักเอว หมันแขน กระโดดไปข้างหน้า วิ่งอยู่กับที่
2. แบ่งกลุ่มเด็ก กลุ่มละ 6 คน
3. ให้เด็กแต่ละกลุ่มส่งอาสมัครออกมาเป็นผู้นำในการเคลื่อนไหว
4. เมื่อให้สัญญาณหยุดให้เปลี่ยนเด็กออกมาเป็นผู้นำ
5. เด็กผลัดเปลี่ยนกันออกมาเป็นผู้นำจนครบทุกคน
6. เด็กหลุดพักผ่อนคลายกล้ามเนื้อ

สื่อการเรียน
แทมโบรีน

ประเมินผล
1. สังเกตการตั้งใจฟังและปฏิบัติตามสัญญาณได้
2. สังเกตการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายได้
3. สังเกตการมีความคิดและจินตนาการในการเคลื่อนไหวได้
4. สังเกตการปฏิบัติตนเป็นผู้นำ ผู้ตามในการเคลื่อนไหวได้


วันที่ 1 กิจกรรมเสริมประสบการณ์
จุดประสงค์

1. เด็กฟังและตอบคำถามครูได้
2. เด็กสนทนาร่วมกับครูและเพื่อนได้
3. เด็กสามารถบอกสภาพอากาศในฤดูฝนได้

เนื้อหา
การบอกสภาพอากาศในฤดูฝน คือ เย็น ชื้น ท้องฟ้ามืดครึ้ม

กิจกรรม
ขั้นนำ

1. ครูและเด็กท่องคำคล้อง ฝน โดยครูอ่านให้เด็กฟัง และเด็กอ่านตามจนคล่อง
2. ครูสนทนาซักถามในเนื้อหาของคำคล้องจอง

ขั้นสอน
1. ครูนำภาพสภาพอากาศมาสนทนากับเด็ก
“เด็กๆ เห็นอะไรในภาพนี้บ้าง”
“สภาพอากาศแบบไหนที่ทำให้ฝนตก”
“สภาพอากาศหลังจากฝนตกจะเป็นอย่างไร”
“ก่อนที่ฝนจะตกหรือฝนกำลังตกจะมีเสียงอะไร”
2. ครูให้เด็กออกมาพูดถึงสภาพอากาศในฤดูฝน

ขั้นสรุป
เด็กและครูร่วมกันสรุปถึงสภาพอากาศในฤดูฝน

สื่อการเรียน
ภาพสภาพอากาศเกี่ยวกับฝน

ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและตอบคำถามครู
2. สังเกตการสนทนาร่วมกับครูและเพื่อน
3. สังเกตการบอกสภาพอากาศในฤดูฝน


วันที่ 1 กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำได้
2. เด็กเลือกกิจกรรมตามความสนใจได้
3. เด็กปฏิบัติตามความสนใจได้
4. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการได้
5. เด็กช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่

เนื้อหา
1. ปั้นแป้งโด
2. วาดภาพสีเทียน
3. ขยำกระดาษ
4. ฉีก ปะ ติด
5. การเป่าสี

กิจกรรม
1. ครูแนะนำและสาธิตวิธีการทำกิจกรรมใหม่ คือ การเป่าสี
2. ครูและเด็กร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนการทำกิจกรรม
3. เด็กเลือกทำกิจกรรมตามความสนใจ
4. เด็กลงมือปฏิบัติกิจกรรมตามที่เลือก
5. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟัง

สื่อการเรียน
1. แป้งโด 2. แผ่นรองแป้งโด 3. กระดาษ A4 4. สีเทียน 5. กาว,ที่ทากาว
6. ผ้าเช็ดมือ 7. ผ้ากันเปื้อน 8. หลอด

ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำ
2. สังเกตการเลือกกิจกรรมตามความสนใจ
3. สังเกตการปฏิบัติตามความสนใจ
4. สังเกตการเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ
5. สังเกตการช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่

กิจกรรมเสรี
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ได้
2. เด็กเลือกเข้ามุมตามความสนใจ
3. เด็กเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกต สำรวจ
4. เด็กสนทนาโต้ตอบกับเพื่อน
5. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงเมื่อได้ยินสัญญาณเตือนให้เปลี่ยนมุม
6. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่

เนื้อหา
1. มุมบล็อก 2. มุมดนตรี 3. มุมหนังสือ 4. มุมวิทยาศาสตร์ 5. มุมตุ๊กตา

กิจกรรม
1. ครูแนะนำมุมพร้อมทั้งอธิบายวิธีการใช้สื่ออุปกรณ์
2. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนการเล่น
3. เด็กเลือกและทำกิจกรรมในมุมเสรีที่เลือก
4. ครูให้สัญญาณเตือนให้เด็กเปลี่ยนมุม
5. เด็กๆ ช่วยกันเก็บอุปกรณ์เข้าที่

สื่อการเรียน
อุปกรณ์ต่างๆ ในมุมเสรี

ประเมินผล
1. เด็กฟังและทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ได้
2. เด็กเลือกเข้ามุมตามความสนใจ
3. เด็กเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกต สำรวจ
4. เด็กสนทนาโต้ตอบกับเพื่อน
5. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงเมื่อได้ยินสัญญาณเตือนให้เปลี่ยนมุม
6. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่


วันที่ 1 กิจกรรมกลางแจ้ง
จุดประสงค์
1. เด็กบอกข้อตกลงในการเล่นกลางแจ้ง
2. เด็กใช้กล้ามเนื้อใหญ่และเล็กในการเล่นเกมกลางแจ้ง
3. เด็กเรียนรู้การระวังรักษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่น
4. เด็กตัดสินใจแก้ปัญหาด้วยตนเอง

เนื้อหา
เกม เดินต่อเท้าตามเส้น โดยให้เด็กเดินต่อเท้าตามเส้นไปและกลับแข่งขันกัน

กิจกรรม
1. เด็กเตรียมอบอุ่นร่างกายก่อนการเล่น เกม เดินต่อเท้าตามเส้น
2. เด็กแบ่งกลุ่มกันเล่นเกม เดินต่อเท้าตามเส้น
3. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนการเล่นเกมเดินต่อเท้าตามเส้น
4. ครูอธิบายและสาธิตวิธีการเล่น เกม เดินต่อเท้าตามเส้น
5. เด็กเล่นเกมเดินต่อเท้าตามเส้น
6. เด็กทำความสะอาดร่างกายหลังจากเล่นเกม เดินต่อเท้าตามเส้น

สื่อการเรียน
นกหวีด

ประเมินผล
1. สังเกตการบอกข้อตกลงในการเล่นกลางแจ้ง
2. สังเกตการ ใช้กล้ามเนื้อใหญ่และเล็กในการเล่นเกมกลางแจ้ง
3. สังเกตการเรียนรู้การระวังรักษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่น
4. สังเกตการตัดสินใจแก้ปัญหาด้วยตนเอง


วันที่ 1 กิจกรรมเกมการศึกษา
จุดประสงค์

1. เด็กตั้งใจฟังคำแนะนำในการเล่นเกมได้
2. เด็กเล่นร่วมกับผู้อื่นได้
3. เด็กสังเกต จำแนก เปรียบเทียบได้
4. เด็กรู้จักเอื้อเฟื้อและรอคอย
5. เด็กสังเกตภาพที่อยู่ถัดไปจากภาพที่กำหนดให้ได้
6. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้

เนื้อหา
เกม อนุกรม

กิจกรรม
1. ครูแนะนำและสาธิตการเล่นเกม อนุกรม
2. แบ่งกลุ่มเด็กตามความสนใจ
3. เด็กแต่ละกลุ่มเล่นเกม อนุกรม และเกมที่เคยเล่นแล้ว
4. เด็กตรวจสอบความถูกต้องและผลัดเปลี่ยนกันเล่นเกม
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่

สื่อการเรียน
1. เกม อนุกรม
2. เกมที่เคยเล่นแล้ว

ประเมินผล
1. สังเกตการตั้งใจฟังคำแนะนำในการเล่นเกม
2. สังเกตการเล่นร่วมกับผู้อื่น
3. สังเกตการสังเกต จำแนก เปรียบเทียบ
4. สังเกตการรู้จักเอื้อเฟื้อและรอคอย
5. สังเกตการสังเกตภาพที่อยู่ถัดไปจากภาพที่กำหนดให้
6. สังเกตการช่วยกันเก็บของเข้าที่
แผนการจัดประสบการณ์ เรื่อง ฝน วันที่ 2

กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
จุดประสงค์

1. เด็กตั้งใจฟังและปฏิบัติตามสัญญาณได้
2. เด็กเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายได้
3. เด็กมีความคิดและจินตนาการในการเคลื่อนไหวได้
4. เด็กสังเกตและจับคู่ภาพที่เหมือนกันได้

เนื้อหา
1. การเคลื่อนไหวประกอบ สภาพอากาศฝน

กิจกรรม
1. เด็กปฏิบัติกิจกรรมเคลื่อนไหวพื้นฐานโดยให้เคลื่อนไหวประกอบเพลง หากว่าเรากำลังสบายจงตบมือพลัน หมุนเข่า ยักไหล่ กระทืบเท้า คลาน นอน กระโดดไปซ้าย-ขวา
2. ครูนำภาพเกี่ยวกับสภาพอากาศ แจกให้เด็กคนละ 1 ภาพ จากนั้นให้เด็กเคลื่อนไหวประกอบภาพไปรอบๆ ห้อง ครูสั่งให้จับกลุ่มภาพที่เหมือนกัน เด็กปฏิบัติกิจกรรมนี้ซ้ำ 2-3 ครั้ง
3. เด็กหยุดพักผ่อนคลายกล้ามเนื้อ

สื่อการเรียน
1. แทมโบรีน 2. ภาพฟ้าผ่า 3. ภาพฝนตก 4. ภาพคนกางร่ม

ประเมินผล
1. สังเกตการตั้งใจฟังและปฏิบัติตามสัญญาณ
2. สังเกตการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกาย
3. สังเกตการมีความคิดและจินตนาการในการเคลื่อนไหว
4. สังเกตการสังเกตและจับคู่ภาพที่เหมือนกัน

กิจกรรมเสริมประสบการณ์
จุดประสงค์

1. เด็กฟังและตอบคำถามครูได้
2. เด็กสนทนาร่วมกับครูและเพื่อนได้
3. เด็กสามารถบอกสาเหตุของการเกิดฝนได้

เนื้อหา
การบอกถึงการสาเหตุของการเกิดฝน

กิจกรรม
ขั้นนำ
1. ครูและเด็กท่องคำคล้อง ฝน โดยครูอ่านให้เด็กฟัง และเด็กอ่านตามจนคล่อง
2. เด็กและครูร่วมกันทำท่าทางประกอบคำคล้องจอง

ขั้นสอน
1. ครูเล่านิทานประกอบภาพการเกิดฝน
2. ครูสนทนากับเด็กถึงเนื้อเรื่องในนิทาน
“ใครทราบบ้างว่าฝนเกิดมาจากไหน”

ขั้นสรุป
เด็กและครูร่วมกันสรุปถึงการเกิดฝน

สื่อการเรียน
บอร์ดภาพการเกิดฝน

ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและตอบคำถามครู
2. สังเกตการสนทนาร่วมกับครูและเพื่อน
3. สังเกตการบอกสาเหตุการเกิดฝน
กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำได้
2. เด็กเลือกกิจกรรมตามความสนใจได้
3. เด็กปฏิบัติตามความสนใจได้
4. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการได้
5. เด็กช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่

เนื้อหา
1. ปั้นแป้งโด 2. วาดภาพสีเทียน 3. ฉีก ปะ ติด 4. การพับสี 5. ร้อยลูกปัด

กิจกรรม
1. ครูแนะนำและสาธิตวิธีการทำกิจกรรมใหม่ คือ การพับสี
2. ครูและเด็กร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนการทำกิจกรรม
3. เด็กเลือกทำกิจกรรมตามความสนใจ
4. เด็กลงมือปฏิบัติกิจกรรมตามที่เลือก
5. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟัง

สื่อการเรียน
1. แป้งโด 2. แผ่นรองแป้งโด 3. กระดาษ A4 4. สีเทียน 5. กาว,ที่ทากาว
6. ผ้าเช็ดมือ 7. ผ้ากันเปื้อน 8. ลูกปัด 9. สีน้ำ

ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำ
2. สังเกตการเลือกกิจกรรมตามความสนใจ
3. สังเกตการปฏิบัติตามความสนใจ
4. สังเกตการเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ
5. สังเกตการช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่

กิจกรรมเสรี
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ได้
2. เด็กเลือกเข้ามุมตามความสนใจ
3. เด็กเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกต สำรวจ
4. เด็กสนทนาโต้ตอบกับเพื่อน
5. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงเมื่อได้ยินสัญญาณเตือนให้เปลี่ยนมุม
6. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่

เนื้อหา
1. มุมบล็อก 2. มุมดนตรี 3. มุมหนังสือ 4. มุมวิทยาศาสตร์ 5. มุมตุ๊กตา

กิจกรรม
1. ครูแนะนำมุมพร้อมทั้งอธิบายวิธีการใช้สื่ออุปกรณ์
2. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนการเล่น
3. เด็กเลือกและทำกิจกรรมในมุมเสรีที่เลือก
4. ครูให้สัญญาณเตือนให้เด็กเปลี่ยนมุม
5. เด็กๆ ช่วยกันเก็บอุปกรณ์เข้าที่

สื่อการเรียน
อุปกรณ์ต่างๆ ในมุมเสรี

ประเมินผล
1. เด็กฟังและทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ได้
2. เด็กเลือกเข้ามุมตามความสนใจ
3. เด็กเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกต สำรวจ
4. เด็กสนทนาโต้ตอบกับเพื่อน
5. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงเมื่อได้ยินสัญญาณเตือนให้เปลี่ยนมุม
6. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่

กิจกรรมกลางแจ้ง
จุดประสงค์
1. เด็กบอกข้อตกลงในการเล่นเครื่องเล่นสนามได้
2. เด็กใช้กล้ามเนื้อใหญ่และเล็กในการเล่นเกมกลางแจ้ง
3. เด็กเรียนรู้การระวังรักษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่น
4. เด็กตัดสินใจแก้ปัญหาด้วยตนเอง

เนื้อหา
การเล่นเครื่องเล่นสนาม

กิจกรรม
1. เด็กเตรียมอบอุ่นร่างกายก่อนการเล่น เครื่องเล่นสนาม
2. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนการเล่น เครื่องเล่นสนาม
3. เด็กเล่นเครื่องเล่นสนาม
4. เด็กทำความสะอาดร่างกายหลังจากเล่น

สื่อการเรียน
เครื่องเล่นสนาม

ประเมินผล
1. สังเกตการบอกข้อตกลงในการเล่นเครื่องเล่นสนาม
2. สังเกตการ ใช้กล้ามเนื้อใหญ่และเล็กในการเล่นเครื่องเล่นสนาม
3. สังเกตการเรียนรู้การระวังรักษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่น
4. สังเกตการตัดสินใจแก้ปัญหาด้วยตนเอง


กิจกรรมเกมการศึกษา
จุดประสงค์
1. เด็กตั้งใจฟังคำแนะนำในการเล่นเกมได้
2. เด็กเล่นร่วมกับผู้อื่นได้
3. เด็กสังเกต จำแนก เปรียบเทียบได้
4. เด็กรู้จักเอื้อเฟื้อและรอคอย
5. เด็กจับคู่ภาพกับเงาที่เหมือนกันได้
6. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้

เนื้อหา
เกม ตารางสัมพันธ์ภาพกับสี

กิจกรรม
1. ครูแนะนำและสาธิตการเล่นเกม ตารางสัมพันธ์ภาพกับสี
2. แบ่งกลุ่มเด็กตามความสนใจ
3. เด็กแต่ละกลุ่มเล่นเกม ตารางสัมพันธ์ภาพกับสี และเกมที่เคยเล่นแล้ว
4. เด็กตรวจสอบความถูกต้องและผลัดเปลี่ยนกันเล่นเกม
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่

สื่อการเรียน
1. เกม ตารางสัมพันธ์ภาพกับสี
2. เกมที่เคยเล่นแล้ว

ประเมินผล
1. สังเกตการตั้งใจฟังคำแนะนำในการเล่นเกม
2. สังเกตการเล่นร่วมกับผู้อื่น
3. สังเกตการสังเกต จำแนก เปรียบเทียบ
4. สังเกตการรู้จักเอื้อเฟื้อและรอคอย
5. สังเกตการจับคู่ภาพกับเงา
6. สังเกตการช่วยกันเก็บของเข้าที่

แผนการจัดประสบการณ์ เรื่อง ฝน วันที่ 3

กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
จุดประสงค์
1. เด็กตั้งใจฟังและปฏิบัติตามสัญญาณได้
2. เด็กเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายได้
3. เด็กมีความคิดและจินตนาการในการเคลื่อนไหวได้
4. เด็กสามารถเลียนแบบการขับรถ การพายเรือ และขับเครื่องบินได้

เนื้อหา
1. การเคลื่อนไหว เลียนแบบการขับรถ การพายเรือ และขับเครื่องบิน
2. จังหวะ ช้า, เร็ว

กิจกรรม
1. เด็กปฏิบัติกิจกรรมเคลื่อนไหวพื้นฐานโดยให้เคลื่อนไหวร่างกายอย่างอิสระไปรอบๆ ห้องตามจังหวะ โดยไม่ชนเพื่อน เมื่อได้ยินสัญญาณหยุดให้หยุดการเคลื่อนไหวทันที
2. เด็กเคลื่อนไหวร่างกายสมมติตนเองเป็นคนขับรถ คนพายเรือ และคนขับเครื่องบิน โดยให้เคลื่อนไหวไปรอบๆห้องตามจังหวะการเคาะของครู เมื่อครูสั่งให้เด็กเข้าจอดเทียบท่า โดยสมมติมุมหนังสือเป็นที่จอดของคนขับรถ มุมตุ๊กตาเป็นที่เข้าจอดของคนพายเรือ และมุมบล็อกเป็นที่เข้าจอดของ คนขับเครื่องบิน เด็กเคลื่อนไหวแบบนี้ 2- 3 ครั้ง
3. เด็กหยุดพักผ่อนคลายกล้ามเนื้อ

สื่อการเรียน
1. แทมโบรีน

ประเมินผล
1. สังเกตการตั้งใจฟังและปฏิบัติตามสัญญาณ
2. สังเกตการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกาย
3. สังเกตการมีความคิดและจินตนาการในการเคลื่อนไหว
4. สังเกตการเลียนแบบการขับรถ การพายเรือ และขับเครื่องบิน

กิจกรรมเสริมประสบการณ์
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและสนทนาโต้ตอบกับครูและเพื่อนได้
2. เด็กฟังและตอบคำถามของครูได้
3. เด็กสามารถบอกอุปกรณ์ในขณะฝนตกได้

เนื้อหา
การบอกอุปกรณ์ขณะฝนตก เช่น เสื้อกันฝน ร่ม รองเท้าบูช

กิจกรรม
ขั้นนำ
1. ครูและเด็กท่องคำคล้อง ฝน โดยครูอ่านให้เด็กฟัง และเด็กอ่านตามจนคล่อง
2. เด็กและครูร่วมกันทำท่าทางประกอบคำคล้องจอง

ขั้นสอน
1. ครูสนทนากับเด็กถึงเครื่องใช้ในฤดูฝน
“อุปกรณ์ที่ใช้ในฤดูฝนมีอะไรบ้าง”
“มีวิธีการใช้อย่างไร”
2. ครูให้เด็กออกมาใส่เสื้อกันฝนและกางร่มให้เพื่อนและครูดู

ขั้นสรุป
เด็กและครูร่วมกันสรุปถึงกิจกรรมที่ทำ

สื่อการเรียน
1. ร่ม 2. เสื้อกันฝน 3. ภาพรองเท้าบูช 4. ภาพร่ม 5. ภาพเสื้อกันฝน

ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและสนทนาโต้ตอบกับครูและเพื่อน
2. สังเกตการสนทนาร่วมกับครูและเพื่อน
3. สังเกตการบอกอุปกรณ์ในขณะฝนตก

กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำได้
2. เด็กเลือกกิจกรรมตามความสนใจได้
3. เด็กปฏิบัติตามความสนใจได้
4. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการได้
5. เด็กช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่

เนื้อหา
1. ปั้นแป้งโด 2. วาดภาพบนกระดาษทราย 3. โรยเกลือสี 4. การเป่าสี 5. ร้อยลูกปัด

กิจกรรม
1. ครูแนะนำและสาธิตวิธีการทำกิจกรรมใหม่ คือ โรยเกลือสี
2. ครูและเด็กร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนการทำกิจกรรม
3. เด็กเลือกทำกิจกรรมตามความสนใจ
4. เด็กลงมือปฏิบัติกิจกรรมตามที่เลือก
5. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟัง

สื่อการเรียน
1. แป้งโด 2. แผ่นรองแป้งโด 3. กระดาษ A4 4. สีเทียน 5. กาว,ที่ทากาว
6. ผ้าเช็ดมือ 7. ผ้ากันเปื้อน 8. ลูกปัด 9. สีน้ำ 10. เกลือสี 11. กระดาษทราย

ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำ
2. สังเกตการเลือกกิจกรรมตามความสนใจ
3. สังเกตการปฏิบัติตามความสนใจ
4. สังเกตการเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ
5. สังเกตการช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่

กิจกรรมเสรี
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ได้
2. เด็กเลือกเข้ามุมตามความสนใจ
3. เด็กเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกต สำรวจ
4. เด็กสนทนาโต้ตอบกับเพื่อน
5. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงเมื่อได้ยินสัญญาณเตือนให้เปลี่ยนมุม
6. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่

เนื้อหา
1. มุมบล็อก 2. มุมดนตรี 3. มุมหนังสือ 4. มุมวิทยาศาสตร์ 5. มุมตุ๊กตา

กิจกรรม
1. ครูแนะนำมุมพร้อมทั้งอธิบายวิธีการใช้สื่ออุปกรณ์
2. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนการเล่น
3. เด็กเลือกและทำกิจกรรมในมุมเสรีที่เลือก
4. ครูให้สัญญาณเตือนให้เด็กเปลี่ยนมุม
5. เด็กๆ ช่วยกันเก็บอุปกรณ์เข้าที่

สื่อการเรียน
อุปกรณ์ต่างๆ ในมุมเสรี

ประเมินผล
1. เด็กฟังและทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ได้
2. เด็กเลือกเข้ามุมตามความสนใจ
3. เด็กเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกต สำรวจ
4. เด็กสนทนาโต้ตอบกับเพื่อน
5. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงเมื่อได้ยินสัญญาณเตือนให้เปลี่ยนมุม
6. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่

กิจกรรมกลางแจ้ง
จุดประสงค์
1. เด็กบอกข้อตกลงในการเล่นเกมได้
2. เด็กใช้กล้ามเนื้อใหญ่และเล็กในการเล่นเกม
3. เด็กเรียนรู้การระวังรักษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่น
4. เด็กตัดสินใจแก้ปัญหาด้วยตนเอง

เนื้อหา
เกม ฝนตก ฝนไม่ตก โดยครูเป็นคนออกคำสั่ง เมื่อครูบอกว่า ฝนตกให้เด็กวิ่งเข้าหาครู และเมื่อบอกว่าฝนไม่ตก ให้เด็กวิ่งหนีจากครู เมื่อบอกว่าน้ำท่วมให้ นั่งลงอยู่กับที่

กิจกรรม
1. เด็กเตรียมอบอุ่นร่างกายก่อนการเล่น เกม ฝนตก ฝนไม่ตก
2. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนการเล่น เกม ฝนตก ฝนไม่ตก
3. ครูอธิบายและสาธิตวิธีการเล่นเกม เกม ฝนตก ฝนไม่ตก
4. เด็กเล่นเกม ฝนตก ฝนไม่ตก
5. เด็กทำความสะอาดร่างกายหลังจากเล่น

สื่อการเรียน
-

ประเมินผล
1. สังเกตการข้อตกลงในการเล่นเกม
2. สังเกตการใช้กล้ามเนื้อใหญ่และเล็กในการเล่นเกม
3. สังเกตการเรียนรู้การระวังรักษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่น
4. สังเกตการตัดสินใจแก้ปัญหาด้วยตนเอง


กิจกรรมเกมการศึกษา
จุดประสงค์
1. เด็กตั้งใจฟังคำแนะนำในการเล่นเกมได้
2. เด็กเล่นร่วมกับผู้อื่นได้
3. เด็กสังเกต จำแนก เปรียบเทียบได้
4. เด็กรู้จักเอื้อเฟื้อและรอคอย
5. เด็กจับคู่ภาพที่เหมือนกันแบบเขาวงกตได้
6. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้

เนื้อหา
เกม จับคู่ภาพแบบเขาวงกต

กิจกรรม
1. ครูแนะนำและสาธิตการเล่นเกม จับคู่ภาพแบบเขาวงกต
2. แบ่งกลุ่มเด็กตามความสนใจ
3. เด็กแต่ละกลุ่มเล่นเกม จับคู่ภาพแบบเขาวงกต และเกมที่เคยเล่นแล้ว
4. เด็กตรวจสอบความถูกต้องและผลัดเปลี่ยนกันเล่นเกม
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่

สื่อการเรียน
1. เกม จับคู่ภาพแบบเขาวงกต
2. เกมที่เคยเล่นแล้ว

ประเมินผล
1. สังเกตการตั้งใจฟังคำแนะนำในการเล่นเกม
2. สังเกตการเล่นร่วมกับผู้อื่น
3. สังเกตการสังเกต จำแนก เปรียบเทียบ
4. สังเกตการรู้จักเอื้อเฟื้อและรอคอย
5. สังเกตการจับคู่ภาพที่เหมือนกันแบบเขาวงกต
6. สังเกตการช่วยกันเก็บของเข้าที่

แผนการจัดประสบการณ์ เรื่อง ฝน วันที่ 4

กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
จุดประสงค์
1. เด็กตั้งใจฟังและปฏิบัติตามสัญญาณได้
2. เด็กเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายได้
3. เด็กสังเกตและจับคู่ภาพที่เหมือนกันได้

เนื้อหา
1. การเคลื่อนไหวประกอบ ภาพอุปกรณ์เกี่ยวกับฝน

กิจกรรม
1. เด็กปฏิบัติกิจกรรมเคลื่อนไหวพื้นฐานโดยให้เคลื่อนไหวประกอบเพลง หากว่าเรากำลังสบายจงตบมือพลัน ผงกหัว ยักไหล่ วิ่งอยู่กับที่ กระโดดไปซ้าย-ขวา
2. เด็กเคลื่อนไหวประกอบภาพอุปกรณ์ที่เกี่ยวกับฝน จากนั้นครูสั่งให้เด็กจัดกลุ่มภาพที่เหมือนกัน เด็กปฏิบัติกิจกรรมนี้ซ้ำ 2-3 ครั้ง
3. เด็กหยุดพักผ่อนคลายกล้ามเนื้อ

สื่อการเรียน
1. แทมโบรีน 2. ภาพอุปกรณ์เกี่ยวกับฝน

ประเมินผล
1. สังเกตการตั้งใจฟังและปฏิบัติตามสัญญาณ
2. สังเกตการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกาย
3. สังเกตการสังเกตและจับคู่ภาพที่เหมือนกัน


กิจกรรมเสริมประสบการณ์
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและตอบคำถามครูได้
2. เด็กสนทนาร่วมกับครูและเพื่อนได้
3. เด็กสามารถบอกประโยชน์และโทษของฝนได้

เนื้อหา
การบอกประโยชน์และโทษของฝน คือ ประโยชน์ของน้ำสามารถนำมาใช้ในชีวิตประจำวัน ส่วนโทษเมื่อฝนตกหนักก็จำทำให้น้ำท่วม

กิจกรรม
ขั้นนำ
1. ครูและเด็กร้องเพลง หลบฝน พร้อมทั้งทำท่าทางประกอบเพลง

ขั้นสอน
1. ครูสนทนากับเด็กถึงประโยชน์ของน้ำและโทษของน้ำ
“ประโยชน์ของน้ำมีอะไรบ้าง”
“โทษของน้ำมีอะไรบ้าง”
2. ครูนำภาพน้ำท่วมมาสนทนากับเด็ก

ขั้นสรุป
เด็กและครูร่วมกันสรุปถึงประโยชน์ของน้ำและโทษของน้ำ

สื่อการเรียน
ภาพน้ำท่วม

ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและตอบคำถามครู
2. สังเกตการสนทนาร่วมกับครูและเพื่อน
3. สังเกตการบอกประโยชน์และโทษของฝน

กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำได้
2. เด็กเลือกกิจกรรมตามความสนใจได้
3. เด็กปฏิบัติตามความสนใจได้
4. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการได้
5. เด็กช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่

เนื้อหา
1. ปั้นแป้งโด 2. วาดภาพสีเทียน 3. ปะ ติด หลอด 4. กลิ้งสี 5. ร้อยลูกปัด

กิจกรรม
1. ครูแนะนำและสาธิตวิธีการทำกิจกรรมใหม่ คือ การกลิ้งสี
2. ครูและเด็กร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนการทำกิจกรรม
3. เด็กเลือกทำกิจกรรมตามความสนใจ
4. เด็กลงมือปฏิบัติกิจกรรมตามที่เลือก
5. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟัง
6. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่

สื่อการเรียน
1. แป้งโด 2. แผ่นรองแป้งโด 3. กระดาษ A4 4. สีเทียน 5. กาว,ที่ทากาว
6. ผ้าเช็ดมือ 7. ผ้ากันเปื้อน 8. ลูกปัด 9. สีน้ำ

ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำ
2. สังเกตการเลือกกิจกรรมตามความสนใจ
3. สังเกตการปฏิบัติตามความสนใจ
4. สังเกตการเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ
5. สังเกตการช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่

กิจกรรมเสรี
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ได้
2. เด็กเลือกเข้ามุมตามความสนใจ
3. เด็กเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกต สำรวจ
4. เด็กสนทนาโต้ตอบกับเพื่อน
5. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงเมื่อได้ยินสัญญาณเตือนให้เปลี่ยนมุม
6. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่

เนื้อหา
1. มุมบล็อก 2. มุมดนตรี 3. มุมหนังสือ 4. มุมวิทยาศาสตร์ 5. มุมตุ๊กตา

กิจกรรม
1. ครูแนะนำมุมพร้อมทั้งอธิบายวิธีการใช้สื่ออุปกรณ์
2. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนการเล่น
3. เด็กเลือกและทำกิจกรรมในมุมเสรีที่เลือก
4. ครูให้สัญญาณเตือนให้เด็กเปลี่ยนมุม
5. เด็กๆ ช่วยกันเก็บอุปกรณ์เข้าที่

สื่อการเรียน
อุปกรณ์ต่างๆ ในมุมเสรี

ประเมินผล
1. เด็กฟังและทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ได้
2. เด็กเลือกเข้ามุมตามความสนใจ
3. เด็กเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกต สำรวจ
4. เด็กสนทนาโต้ตอบกับเพื่อน
5. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงเมื่อได้ยินสัญญาณเตือนให้เปลี่ยนมุม
6. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่

กิจกรรมกลางแจ้ง
จุดประสงค์
1. เด็กบอกข้อตกลงในการเล่นเครื่องเล่นสนามได้
2. เด็กใช้กล้ามเนื้อใหญ่และเล็กในการเล่นเกมกลางแจ้ง
3. เด็กเรียนรู้การระวังรักษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่น
4. เด็กตัดสินใจแก้ปัญหาด้วยตนเอง

เนื้อหา
การเล่นเครื่องเล่นสนาม

กิจกรรม
1. เด็กเตรียมอบอุ่นร่างกายก่อนการเล่น เครื่องเล่นสนาม
2. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนการเล่น เครื่องเล่นสนาม
3. เด็กเล่นเครื่องเล่นสนาม
4. เด็กทำความสะอาดร่างกายหลังจากเล่น

สื่อการเรียน
เครื่องเล่นสนาม

ประเมินผล
1. สังเกตการบอกข้อตกลงในการเล่นเครื่องเล่นสนาม
2. สังเกตการ ใช้กล้ามเนื้อใหญ่และเล็กในการเล่นเครื่องเล่นสนาม
3. สังเกตการเรียนรู้การระวังรักษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่น
4. สังเกตการตัดสินใจแก้ปัญหาด้วยตนเอง

กิจกรรมเกมการศึกษา
จุดประสงค์
1. เด็กตั้งใจฟังคำแนะนำในการเล่นเกมได้
2. เด็กเล่นร่วมกับผู้อื่นได้
3. เด็กสังเกต จำแนก เปรียบเทียบได้
4. เด็กรู้จักเอื้อเฟื้อและรอคอย
5. เด็กสามารถแยกรูปทรงที่ต่างกันได้
6. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้

เนื้อหา
เกม กล่องหยอดรูปทรง

กิจกรรม
1. ครูแนะนำและสาธิตการเล่นเกม กล่องหยอดรูปทรง
2. แบ่งกลุ่มเด็กตามความสนใจ
3. เด็กแต่ละกลุ่มเล่นเกม กล่องหยอดรูปทรง และเกมที่เคยเล่นแล้ว
4. เด็กตรวจสอบความถูกต้องและผลัดเปลี่ยนกันเล่นเกม
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่

สื่อการเรียน
1. เกม กล่องหยอดรูปทรง
2. เกมที่เคยเล่นแล้ว

ประเมินผล
1. สังเกตการตั้งใจฟังคำแนะนำในการเล่นเกม
2. สังเกตการเล่นร่วมกับผู้อื่น
3. สังเกตการสังเกต จำแนก เปรียบเทียบ
4. สังเกตการรู้จักเอื้อเฟื้อและรอคอย
5. สังเกตการแยกรูปทรงที่ต่างกัน
6. สังเกตการช่วยกันเก็บของเข้าที่

แผนการจัดประสบการณ์ เรื่อง ฝน วันที่ 5

กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
จุดประสงค์
1. เด็กตั้งใจฟังและปฏิบัติตามสัญญาณได้
2. เด็กเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายได้
3. เด็กมีความคิดและจินตนาการในการเคลื่อนไหว

เนื้อหา
1. การเคลื่อนไหวเลียนแบบท่าทางสัตว์และเสียงร้องของสัตว์

กิจกรรม
1. เด็กปฏิบัติกิจกรรมเคลื่อนไหวพื้นฐานโดยให้เคลื่อนไหวประกอบเพลง หากว่าเรากำลังสบายจงตบมือพลัน กระโดดไปซ้าย-ขวา ลุก นั่ง นอน คลาน
2. เด็กเคลื่อนไหวเลียนแบบท่าทางสัตว์และเสียงร้องของสัตว์ประกอบเพลง เสียงสัตว์ร้อง
3. เด็กหยุดพักผ่อนคลายกล้ามเนื้อ

สื่อการเรียน
1. แทมโบรีน 2. ภาพอุปกรณ์เกี่ยวกับฝน

ประเมินผล
1. สังเกตการตั้งใจฟังและปฏิบัติตามสัญญาณ
2. สังเกตการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกาย
3. สังเกตการมีความคิดและจินตนาการในการเคลื่อนไหว


กิจกรรมเสริมประสบการณ์
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและตอบคำถามครูได้
2. เด็กสนทนาร่วมกับครูและเพื่อนได้
3. เด็กสามารถบอกการเกิดรุ้งกินน้ำได้

เนื้อหา
การบอกการเกิดรุ้งกินน้ำ มี 7 สี ม่วง คราม ฟ้า เขียว เหลือง แสด แดง

กิจกรรม
ขั้นนำ
1. ครูทายปริศนาคำทาย อะไรเอ่ย มีหลายสี อยู่บนท้องฟ้า เกิดหลังจากฝนตก ( รุ้งกินน้ำ )

ขั้นสอน
1. ครูนำภาพรุ้งกินน้ำมาสนทนากับเด็ก
“ใครทราบบ้างว่าหลังจากฝนตกจะเกิดอะไรขึ้น”
“รุ้งกินน้ำมีกี่สี มีสีอะไรบ้าง”
2. ครูให้เด็กออกมาเรียงลำดับสีของรุ้งกินน้ำ

ขั้นสรุป
เด็กและครูร่วมกันสรุปถึงการเกิดรุ้งกินน้ำและสีของรุ้งกินน้ำ

สื่อการเรียน
ภาพรุ้งกินน้ำ

ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและตอบคำถามครู
2. สังเกตการสนทนาร่วมกับครูและเพื่อน
3. สังเกตการบอกการเกิดรุ้งกินน้ำได้

กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำได้
2. เด็กเลือกกิจกรรมตามความสนใจได้
3. เด็กปฏิบัติตามความสนใจได้
4. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการได้
5. เด็กช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่

เนื้อหา
1. ปั้นแป้งโด 2. วาดภาพสีเทียน 3. โรยเกลือสี 4. วาดภาพสีน้ำ 5. ร้อยลูกปัด

กิจกรรม
1. ครูแนะนำและสาธิตวิธีการทำกิจกรรมใหม่ คือ โรยเกลือสี
2. ครูและเด็กร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนการทำกิจกรรม
3. เด็กเลือกทำกิจกรรมตามความสนใจ
4. เด็กลงมือปฏิบัติกิจกรรมตามที่เลือก
5. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟัง
6. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่

สื่อการเรียน
1. แป้งโด 2. แผ่นรองแป้งโด 3. กระดาษ A4 4. สีเทียน 5. กาว,ที่ทากาว
6. ผ้าเช็ดมือ 7. ผ้ากันเปื้อน 8. ลูกปัด 9. สีน้ำ 10. เกลือสี

ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำ
2. สังเกตการเลือกกิจกรรมตามความสนใจ
3. สังเกตการปฏิบัติตามความสนใจ
4. สังเกตการเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ
5. สังเกตการช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่

กิจกรรมเสรี
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ได้
2. เด็กเลือกเข้ามุมตามความสนใจ
3. เด็กเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกต สำรวจ
4. เด็กสนทนาโต้ตอบกับเพื่อน
5. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงเมื่อได้ยินสัญญาณเตือนให้เปลี่ยนมุม
6. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่

เนื้อหา
1. มุมบล็อก 2. มุมดนตรี 3. มุมหนังสือ 4. มุมวิทยาศาสตร์ 5. มุมตุ๊กตา

กิจกรรม
1. ครูแนะนำมุมพร้อมทั้งอธิบายวิธีการใช้สื่ออุปกรณ์
2. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนการเล่น
3. เด็กเลือกและทำกิจกรรมในมุมเสรีที่เลือก
4. ครูให้สัญญาณเตือนให้เด็กเปลี่ยนมุม
5. เด็กๆ ช่วยกันเก็บอุปกรณ์เข้าที่

สื่อการเรียน
อุปกรณ์ต่างๆ ในมุมเสรี

ประเมินผล
1. เด็กฟังและทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ได้
2. เด็กเลือกเข้ามุมตามความสนใจ
3. เด็กเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกต สำรวจ
4. เด็กสนทนาโต้ตอบกับเพื่อน
5. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงเมื่อได้ยินสัญญาณเตือนให้เปลี่ยนมุม
6. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่

กิจกรรมกลางแจ้ง
จุดประสงค์
1. เด็กบอกข้อตกลงในการเล่นเกมเดินท่าทางของสัตว์ได้
2. เด็กใช้กล้ามเนื้อใหญ่และเล็กในการเล่นเกมเดินท่าทางของสัตว์
3. เด็กเรียนรู้การระวังรักษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่น
4. เด็กตัดสินใจแก้ปัญหาด้วยตนเอง

เนื้อหา
การเล่นเกม เดินท่าทางของสัตว์

กิจกรรม
1. เด็กเตรียมอบอุ่นร่างกายก่อนการเล่น เกม เดินท่าทางของสัตว์
2. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนการเล่น เกม เดินท่าทางของสัตว์
3. เด็กเล่นเกม เดินท่าทางของสัตว์
4. เด็กทำความสะอาดร่างกายหลังจากเล่นเกม เดินท่าทางของสัตว์

สื่อการเรียน
-

ประเมินผล
1. สังเกตการณ์บอกข้อตกลงในการเล่นเกม เดินท่าทางของสัตว์
2. สังเกตการใช้กล้ามเนื้อใหญ่และเล็กในการเล่น เกม เดินท่าทางของสัตว์
3. สังเกตการเรียนรู้การระวังรักษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่น
4. สังเกตการตัดสินใจแก้ปัญหาด้วยตนเอง


กิจกรรมเกมการศึกษา
จุดประสงค์
1. เด็กตั้งใจฟังคำแนะนำในการเล่นเกมได้
2. เด็กเล่นร่วมกับผู้อื่นได้
3. เด็กสังเกต จำแนก เปรียบเทียบได้
4. เด็กรู้จักเอื้อเฟื้อและรอคอย
5. เด็กสามารถแยกรูปทรงที่ต่างกันได้
6. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้

เนื้อหา
เกม ร้อยเชือก

กิจกรรม
1. ครูแนะนำและสาธิตการเล่นเกม ร้อยเชือก
2. แบ่งกลุ่มเด็กตามความสนใจ
3. เด็กแต่ละกลุ่มเล่นเกม ร้อยเชือก และเกมที่เคยเล่นแล้ว
4. เด็กตรวจสอบความถูกต้องและผลัดเปลี่ยนกันเล่นเกม
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่

สื่อการเรียน
1. เกม ร้อยเชือก
2. เกมที่เคยเล่นแล้ว

ประเมินผล
1. สังเกตการตั้งใจฟังคำแนะนำในการเล่นเกม
2. สังเกตการเล่นร่วมกับผู้อื่น
3. สังเกตการสังเกต จำแนก เปรียบเทียบ
4. สังเกตการรู้จักเอื้อเฟื้อและรอคอย
5. สังเกตการแยกรูปทรงที่ต่างกัน
6. สังเกตการช่วยกันเก็บของเข้าที่




Tuesday, October 21, 2008

หน่วยการเรียน เรื่อง ไข่ วันที่ 11สิงหาคม - 15 สิงหาคม2551





ภาพที่ 1 ครูให้เด็กสัมผัสไข่ และบอกลักษณะของไข่ ว่าแข็งหรือนิ่ม เด็กบางคนไม่กล้าสัมผัสเพราะกลัวมันแตก






ภาพที่ 2 เด็กสังเกตไข่แต่ละฟองว่ามีความเหมือนและต่างกันอย่างไร เด็กให้ความสนใจและตอบคำถามของครู


ภาพที่ 3 ครูและเด็กสนทนาถึงรูปร่างลักษณะของไข่แต่ละฟองที่ครูนำมา มี ไข่เป็ด ไข่ไก่ ไข่เยี่ยวม้า ซึ่งไข่แต่ละฟองจะมีความเหมือนและแตกต่างกัน





ภาพที่ 4 การประกอบอาหาร ไข่อบเนย โดยครูให้เด็กออกมาปอกไข่ ซึ่งเด็กให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม

ภาพที่ 5 สื่อการสอนเรื่องไข่ ซึ่งมีไข่ไก่ ไข่เป็ด ไข่เยี่ยวม้า ไข่นกกระทา และไข่ห่าน

ภาพที่ 6 สื่อการสอนเกี่ยวกับอาหารไข่ เช่น ไข่พะโล้ ไข่ลูกเขย ไข่เจียว และไข่ต้ม อาหารที่มีไข่ประกอบการทำ เช่น ขนมเค้ก
คุ๊กกี้





ภาพที่ 7 เกมการศึกษา คือ เกม จับคู่ภาพให้สมบูรณ์ วิธีการเล่น นำภาพแต่ละส่วนมาจับคู่กันให้เป็นภาพที่สมบูรณ์










แผนการจัดประสบการณ์ เรื่อง ไข่ วันที่ 1

วันที่ 1 กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
จุดประสงค์

1. เด็กสามารถเคลื่อนไหวแบบตามคำสั่งได้
2. เด็กสามารถเคลื่อนไหวตามจังหวะการเคาะของครู
3. เด็กเคลื่อนไหวร่างกายอย่างคล่องแคล่ว


เนื้อหา
1. การเคลื่อนไหวแบบ ทำตามคำสั่ง หมายถึง เด็กเคลื่อนไหวตามคำสั่งของครู เช่น สั่งให้จับคู่กัน สั่งให้หัวชนกัน
2. จังหวะการเคาะของครู

กิจกรรม
1. เด็กปฏิบัติกิจกรรมเคลื่อนไหวพื้นฐานโดยให้เคลื่อนไหวไปรอบๆ ห้องเมื่อได้ยินเสียงสัญญาณ หยุด ให้หยุดเคลื่อนไหวทันที
2. เด็กเคลื่อนไหวตามคำสั่งของครู โดยเคลื่อนไหวตามคำสั่งของครู เมื่อครูหยุดเคาะและสั่งให้เด็ก จับคู่กัน หัวชนกัน นอนจับมือกัน ไหล่ชนกัน เท้าชนกัน
3. เด็กหยุดพักผ่อนคลายกล้ามเนื้อ

สื่อการเรียน
เครื่องกำกับจังหวะ แทมโบรีน

ประเมินผล
1. สังเกตการเคลื่อนไหวแบบตามคำสั่งได้
2. สังเกตการสามารถเคลื่อนไหวตามจังหวะการเคาะของครู
3. สังเกตการเคลื่อนไหวร่างกายอย่างคล่องแคล่ว


วันที่ 1 กิจกรรมเสริมประสบการณ์
จุดประสงค์

1. เด็กสามารถบอกลักษณะของไข่
2. เด็กฟังและตอบคำถามของครูได้
3. เด็กสามารถอธิบายเกี่ยวกับรูปร่างลักษณะของไข่แต่ละฟองได้

เนื้อหา
รูปร่างลักษณะของไข่จะมีความแตกต่างกัน เช่น ไข่ไก่ จะมีผิวสีเหลือง ไข่เป็ดจะมีผิวสีขาว ส่วนไข่นกกระทาจะมีขนาดเล็กและมีผิวขรุขระ

กิจกรรม
ขั้นนำ

1. ครูและเด็กร่วมกันเล่นเกม ไข่นั่ง ไข่ยืน โดยครูสั่งคำว่า ไข่นั่งหรือไข่ยืนให้ทำตามแต่ถ้าไม่พูดก็ไม่ต้องทำตาม

ขั้นสอน
1. ครูนำไข่จริงมาสนทนากับเด็ก โดยใช้คำถามดังนี้
“เด็กๆ รู้จักไข่อะไรบ้าง”
“ไข่ที่เด็กๆ รู้จักมีลักษณะอย่างไร”
“ไข่ที่ครูนำมาเหมือนหรือต่างอย่างไร”
2. ครูปอกไข่ให้เด็กดูมี ไข่ไก่ ไข่เป็ด ไข่เยี่ยวม้า

ขั้นสรุป
เด็กและครูร่วมกันสรุปถึงรูปร่างลักษณะของไข่

สื่อการเรียน
ไข่ไก่ ไข่เป็ด ไข่เยี่ยวม้า

ประเมินผล
1. สังเกตการบอกลักษณะของไข่
2. สังเกตการฟังและตอบคำถามของครู
3. สังเกตการอธิบายเกี่ยวกับรูปร่างลักษณะของไข่แต่ละฟอง


วันที่ 1 กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
จุดประสงค์

1. เด็กสามารถสร้างสรรค์ผลงานศิลปะตามความคิดของตนเองได้
2. เด็กสามารถพัฒนากล้ามเนื้อเล็กโดยกิจกรรมการฝนสีบนเปลือกหอย
3. เด็กเลือกและลงมือปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจ
4. เด็กเล่าผลงานตามความคิดและจินตนาการได้
5. เด็กเก็บของเข้าที่

เนื้อหา
ความคิดละเอียดลออจากการต่อเติมภาพจากการฝนสีบนเปลือกหอย ความคิดริเริ่มในการฝนสีบนเปลือกหอย

กิจกรรม
1. ครูแนะนำและสาธิตวิธีการทำกิจกรรมใหม่ คือ การฝนสีบนเปลือกหอย
2. ครูและเด็กร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนการทำกิจกรรม
3. เด็กเลือกทำกิจกรรมตามความสนใจ
4. เด็กลงมือปฏิบัติกิจกรรมตามที่เลือก
5. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟัง
6. เด็กช่วยกันเก็บอุปกรณ์เข้าที่

สื่อการเรียน
1. ฝนสีบนเปลือกหอย
2. ปั้นแป้งโด
3. ปะติดเมล็ดพืช
4. ร้อยลูกปัด
5. การเป่าสี

ประเมินผล
1. สังเกตการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะตามความคิดของตนเอง
2. สังเกตการพัฒนากล้ามเนื้อเล็กโดยกิจกรรมการฝนสีบนเปลือกหอย
3. สังเกตการเลือกและลงมือปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจ
4. สังเกตการเล่าผลงานตามความคิดและจินตนาการได้
5. สังเกตการเก็บของเข้าที่

วันที่ 1 กิจกรรมเสรี
จุดประสงค์

1. เด็กฟังและทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ได้
2. เด็กเลือกเข้ามุมตามความสนใจ
3. เด็กเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกต สำรวจ
4. เด็กสนทนาโต้ตอบกับเพื่อน
5. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงเมื่อได้ยินสัญญาณเตือนให้เปลี่ยนมุม
6. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่

เนื้อหา
1. มุมวิทยาศาสตร์ เนื้อหาที่ต้องการคือ การนำไข่ของจริงมาให้เด็กได้สัมผัส

กิจกรรม
1. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนการเล่น
- ไม่ส่งเสียงดัง
- เล่นเสร็จเก็บของเข้าที่
- แบ่งปันสิ่งของ
2. เด็กเลือกและทำกิจกรรมในมุมเสรีที่เลือก
3. ครูให้สัญญาณเตือนให้เด็กเปลี่ยนมุม
4. เด็กๆ ช่วยกันเก็บอุปกรณ์เข้าที่

สื่อการเรียน
1. มุมวิทยาศาสตร์
2. มุมหนังสือ
3. มุมตุ๊กตา
4. มุมดนตรี
5. มุมบล็อก

ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์
2. สังเกตการเลือกเข้ามุมตามความสนใจ
3. สังเกตการเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกต สำรวจ
4. สังเกตการสนทนาโต้ตอบกับเพื่อน
5. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลงเมื่อได้ยินสัญญาณเตือนให้เปลี่ยนมุม
6. สังเกตการช่วยกันเก็บของเข้าที่

วันที่ 1 กิจกรรมกลางแจ้ง
จุดประสงค์

1. เด็กสามารถเคลื่อนไหวร่างกายอย่างคล่องแคล่ว
2. เด็กมีความสุขในการทำกิจกรรมการเล่นเกม
3. เด็กสามารถปฏิบัติตามข้อตกลงได้
4. เด็กสามารถทำความสะอาดร่างกายหลังจากการเล่นเกม

เนื้อหา
เกม มอญซ่อนผ้า

กิจกรรม
1. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนการเล่นเกม มอญซ่อนผ้า
2. ครูอธิบายและสาธิตวิธีการเล่น เกม มอญซ่อนผ้า
3. เด็กทดลองเล่นเกม มอญซ่อนผ้า
4. เด็กเล่นเกม มอญซ่อนผ้า ด้วยตนเอง
5. เด็กทำความสะอาดร่างกายหลังจากเล่นเกม มอญซ่อนผ้า


สื่อการเรียน
เกม มอญซ่อนผ้า

ประเมินผล
1. สังเกตการเคลื่อนไหวร่างกายอย่างคล่องแคล่ว
2. สังเกตการมีความสุขในการทำกิจกรรมการเล่นเกม
3. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลง
4. สังเกตการทำความสะอาดร่างกายหลังจากการเล่นเกม

วันที่ 1 กิจกรรมเกมการศึกษา
จุดประสงค์
1. เด็กตั้งใจฟังคำแนะนำในการเล่นเกมได้
2. เด็กสามารถเล่นเกมใหม่คือ เกม จับคู่ภาพให้สมบูรณ์
3. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลง
4. เด็กรู้จักเอื้อเฟื้อและรอคอย
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้

เนื้อหา
เกม จับคู่ภาพให้สมบูรณ์

กิจกรรม
1. ครูแนะนำและสาธิตการเล่นเกม จับคู่ภาพให้สมบูรณ์
2. แบ่งกลุ่มเด็กตามความสนใจ
3. เด็กแต่ละกลุ่มเล่นเกม จับคู่ภาพให้สมบูรณ์ และเกมที่เคยเล่นแล้ว
4. เด็กตรวจสอบความถูกต้องและผลัดเปลี่ยนกันเล่นเกม
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่

สื่อการเรียน

1. เกม จับคู่ภาพให้สมบูรณ์
2. เกมที่เคยเล่นแล้ว

ประเมินผล
1. สังเกตการตั้งใจฟังคำแนะนำในการเล่นเกม
2. สังเกตการเล่นเกมใหม่คือ เกม จับคู่ภาพให้สมบูรณ์
3. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลง
4. สังเกตการรู้จักเอื้อเฟื้อและรอคอย
5. สังเกตการช่วยกันเก็บของเข้าที่


แผนการจัดประสบการณ์ เรื่อง ไข่ วันที่ 2


กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
จุดประสงค์

1. เด็กสามารถเป็นผู้นำ ผู้ตามในการทำกายบริหารได้
2. เด็กสามารถเคลื่อนไหวตามจังหวะการเคาะของครู
3. เด็กเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกาย


เนื้อหา
1. การเคลื่อนไหวแบบ ผู้นำ ผู้ตาม หมายถึง เด็กเป็นผู้นำกายบริหาร
2. จังหวะการเคาะของครู

กิจกรรม
1. เด็กปฏิบัติกิจกรรมเคลื่อนไหวพื้นฐานโดยให้เคลื่อนไหวไปรอบๆ ห้องเมื่อได้ยินเสียงสัญญาณ หยุด ให้หยุดเคลื่อนไหวทันที
2. เด็กเคลื่อนไหวเป็นผู้นำ ผู้ตามกายบริหาร
3. เด็กผลัดเปลี่ยนกันเป็นผู้นำ ผู้ตามจนครบทุกคน
4. เด็กหยุดพักผ่อนคลายกล้ามเนื้อ

สื่อการเรียน
เครื่องกำกับจังหวะ แทมโบรีน

ประเมินผล
1. สังเกตการณ์เป็นผู้นำ ผู้ตามในการทำกายบริหาร
2. สังเกตการสามารถเคลื่อนไหวตามจังหวะการเคาะของครู
3. สังเกตการณ์เคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกาย

วันที่ 2 กิจกรรมเสริมประสบการณ์
จุดประสงค์
1. เด็กสามารถบอกสัตว์ที่ออกลูกเป็นไข่ได้
2. เด็กฟังและตอบคำถามของครูได้
3. เด็กสนทนาโต้ตอบร่วมกับเพื่อนและครูได้

เนื้อหา
สัตว์ที่ออกลูกเป็นไข่ ได้แก่ เป็ด ไก่ งู จระเข้ ตุ๊กแก นกกระทา เต่า เป็นต้น

กิจกรรม
ขั้นนำ

1. ครูเล่านิทานประกอบมือเรื่อง ไข่ใบน้อย ให้เด็กฟัง

ขั้นสอน
1. ครูและเด็กสนทนาประกอบภาพสัตว์ที่ออกลูกเป็นไข่
“ สิ่งที่อยู่ในภาพคืออะไร”
“เด็กๆคิดว่าสัตว์อะไรบ้างที่ออกลูกเป็นไข่
2. ครูให้เด็กออกมาเขียนคำว่า ไข่ หรือวาดภาพสัตว์ที่ออกลูกเป็นไข่

ขั้นสรุป
เด็กและครูร่วมกันสรุปถึงสัตว์ที่ออกลูกเป็นไข่

สื่อการเรียน
ไข่ไก่ ไข่เป็ด ไข่นกกระทา

ประเมินผล

1. สังเกตการบอกสัตว์ที่ออกลูกเป็นไข่
2. สังเกตการฟังและตอบคำถามของครู
3. สังเกตการสนทนาโต้ตอบร่วมกับเพื่อนและครู


วันที่ 2 กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
จุดประสงค์
1. เด็กสามารถสร้างสรรค์ผลงานศิลปะตามความคิดของตนเองได้
2. เด็กสามารถพัฒนากล้ามเนื้อใหญ่โดยกิจกรรมการ ทำโมบายไข่
3. เด็กเลือกและลงมือปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจ
4. เด็กเล่าผลงานตามความคิดและจินตนาการได้
5. เด็กเก็บของเข้าที่

เนื้อหา
ความคิดริเริ่มในการประดิษฐ์สิ่งที่แปลกใหม่ ความคิดละเอียดละออจากการที่เด็กตกแต่งผลงานลงบนไข่

กิจกรรม
1. ครูแนะนำและสาธิตวิธีการทำกิจกรรมใหม่ คือ การทำโมบายไข่
2. ครูและเด็กร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนการทำกิจกรรม
3. เด็กเลือกทำกิจกรรมตามความสนใจ
4. เด็กลงมือปฏิบัติกิจกรรมตามที่เลือก
5. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟัง
6. เด็กช่วยกันเก็บอุปกรณ์เข้าที่

สื่อการเรียน
1. ทำโมบายไข่
2. ปั้นแป้งโด
3. ปะติดเมล็ดพืช
4. ร้อยลูกปัด
5. การเป่าสี

ประเมินผล
1. สังเกตการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะตามความคิดของตนเอง
2. สังเกตการพัฒนากล้ามเนื้อเล็กโดยกิจกรรมการทำโมบายไข่
3. สังเกตการเลือกและลงมือปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจ
4. สังเกตการเล่าผลงานตามความคิดและจินตนาการได้
5. สังเกตการเก็บของเข้าที่


วันที่ 2 กิจกรรมเสรี
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ได้
2. เด็กเลือกเข้ามุมตามความสนใจ
3. เด็กเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกต สำรวจ
4. เด็กสนทนาโต้ตอบกับเพื่อน
5. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงเมื่อได้ยินสัญญาณเตือนให้เปลี่ยนมุม
6. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่

เนื้อหา
1. มุมวิทยาศาสตร์ เนื้อหาที่ต้องการคือ การนำไข่ของจริงมาให้เด็กได้สัมผัส

กิจกรรม
1. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนการเล่น
- ไม่ส่งเสียงดัง
- เล่นเสร็จเก็บของเข้าที่
- แบ่งปันสิ่งของ
2. เด็กเลือกและทำกิจกรรมในมุมเสรีที่เลือก
3. ครูให้สัญญาณเตือนให้เด็กเปลี่ยนมุม
4. เด็กๆ ช่วยกันเก็บอุปกรณ์เข้าที่

สื่อการเรียน
1. มุมวิทยาศาสตร์
2. มุมหนังสือ
3. มุมตุ๊กตา
4. มุมดนตรี
5. มุมบล็อก

ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์
2. สังเกตการเลือกเข้ามุมตามความสนใจ
3. สังเกตการเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกต สำรวจ
4. สังเกตการสนทนาโต้ตอบกับเพื่อน
5. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลงเมื่อได้ยินสัญญาณเตือนให้เปลี่ยนมุม
6. สังเกตการช่วยกันเก็บของเข้าที่


วันที่ 2 กิจกรรมกลางแจ้ง
จุดประสงค์
1. เด็กสามารถเคลื่อนไหวร่างกายอย่างคล่องแคล่ว
2. เด็กมีความสุขในการทำกิจกรรมการเล่นห้องนิ่ม
3. เด็กสามารถปฏิบัติตามข้อตกลงได้
4. เด็กสามารถทำความสะอาดร่างกายหลังจากการเล่นห้องนิ่ม

เนื้อหา
ห้องนิ่ม

กิจกรรม
1. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนการเล่น ห้องนิ่ม
2. เด็กเล่นห้องนิ่ม
3. ครูคอยดูแลเด็กอย่างใกล้ชิด
4. เด็กทำความสะอาดร่างกายหลังจากเล่นห้องนิ่ม


สื่อการเรียน
ห้องนิ่ม

ประเมินผล
1. สังเกตการเคลื่อนไหวร่างกายอย่างคล่องแคล่ว
2. สังเกตการมีความสุขในการทำกิจกรรมการเล่นห้องนิ่ม
3. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลง
4. สังเกตการทำความสะอาดร่างกายหลังจากการเล่นห้องนิ่ม


กิจกรรมเกมการศึกษา
จุดประสงค์
1. เด็กตั้งใจฟังคำแนะนำในการเล่นเกมได้
2. เด็กสามารถเล่นเกมใหม่คือ เกม จับคู่ภาพเหมือน
3. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลง
4. เด็กรู้จักเอื้อเฟื้อและรอคอย
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้

เนื้อหา
เกม จับคู่ภาพเหมือน

กิจกรรม
1. ครูแนะนำและสาธิตการเล่นเกม จับคู่ภาพเหมือน
2. แบ่งกลุ่มเด็กตามความสนใจ
3. เด็กแต่ละกลุ่มเล่นเกม จับคู่ภาพเหมือน และเกมที่เคยเล่นแล้ว
4. เด็กตรวจสอบความถูกต้องและผลัดเปลี่ยนกันเล่นเกม
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่

สื่อการเรียน
1. เกม จับคู่ภาพเหมือน
2. เกมที่เคยเล่นแล้ว

ประเมินผล
1. สังเกตการตั้งใจฟังคำแนะนำในการเล่นเกม
2. สังเกตการเล่นเกมใหม่คือ เกม จับคู่ภาพเหมือน
3. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลง
4. สังเกตการรู้จักเอื้อเฟื้อและรอคอย
5. สังเกตการช่วยกันเก็บของเข้าที่


แผนการจัดประสบการณ์ เรื่อง ไข่ วันที่ 3

กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
จุดประสงค์

1. เด็กสามารถเคลื่อนไหวประกอบเพลงได้
2. เด็กฟังและปฏิบัติตามสัญญาณ
3. เด็กเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกาย


เนื้อหา
1. การเคลื่อนไหวประกอบเพลง ไข่

กิจกรรม
1. เด็กปฏิบัติกิจกรรมเคลื่อนไหวพื้นฐานโดยให้เคลื่อนไหวไปรอบๆ ห้องเมื่อได้ยินเสียงสัญญาณ หยุด ให้หยุดเคลื่อนไหวทันที
2. เด็กและครูร่วมกันร้องเพลงพร้อมทั้งทำท่าทางประกอบเพลง
3. เด็กหยุดพักผ่อนคลายกล้ามเนื้อ
สื่อการเรียน
เครื่องกำกับจังหวะ แทมโบรีน

ประเมินผล
1. สังเกตการเคลื่อนไหวประกอบเพลงได้
2. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามสัญญาณ
3. สังเกตการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกาย

วันที่ 3 กิจกรรมเสริมประสบการณ์
จุดประสงค์

1. เด็กสามารถบอกประโยชน์ของไข่ได้
2. เด็กฟังและตอบคำถามของครูได้
3. เด็กสนทนาโต้ตอบร่วมกับเพื่อนและครูได้

เนื้อหา
ไข่มีประโยชน์ คือ ไข่ขาวจะมีโปรตีน ไข่แดงจะมีไขมัน วิตามินและเกลือแร่

กิจกรรม
ขั้นนำ
1. ครูและเด็กร่วมกันร้องเพลง ไข่ พร้อมทั้งทำท่าทางประกอบเพลงตามจินตนาการ

ขั้นสอน
1. ครูและเด็กสนทนาถึงประโยชน์ของไข่ โดยครูปอกไข่ให้เด็กดูข้างใน
“ ไข่ที่เด็กเห็นมีความเหมือนและต่างกันหรือไม่”
“ไข่มีประโยชน์อย่างไรบ้าง”
“เด็กๆทราบได้อย่างไร”

ขั้นสรุป
เด็กและครูร่วมกันสรุปถึง ประโยชน์ของไข่

สื่อการเรียน
1. เพลง ไข่
2. ไข่ไก่ ไข่เป็ด ไข่นกกระทา ไข่เยี่ยวม้า

ประเมินผล
1. สังเกตการบอกประโยชน์ของไข่
2. สังเกตการฟังและตอบคำถามของครู
3. สังเกตการสนทนาโต้ตอบร่วมกับเพื่อนและครู


วันที่ 3 กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
จุดประสงค์
1. เด็กสามารถสร้างสรรค์ผลงานศิลปะตามความคิดของตนเองได้
2. เด็กสามารถพัฒนากล้ามเนื้อใหญ่โดยกิจกรรมการ ปะติดเปลือกไข่
3. เด็กเลือกและลงมือปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจ
4. เด็กเล่าผลงานตามความคิดและจินตนาการได้
5. เด็กเก็บของเข้าที่

เนื้อหา
ความคิดริเริ่มในการสร้างภาพจากการปะติดเปลือกไข่ ความคิดละเอียดลออจากการที่เด็กได้ปะติดเปลือกเป็นรูปภาพ

กิจกรรม
1. ครูแนะนำและสาธิตวิธีการทำกิจกรรมใหม่ คือ การปะติดเปลือกไข่
2. ครูและเด็กร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนการทำกิจกรรม
3. เด็กเลือกทำกิจกรรมตามความสนใจ
4. เด็กลงมือปฏิบัติกิจกรรมตามที่เลือก
5. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟัง
6. เด็กช่วยกันเก็บอุปกรณ์เข้าที่

สื่อการเรียน
1. ปะติดเปลือกไข่
2. ปั้นแป้งโด
3. วาดภาพบนกระดาษทราย
4. ร้อยลูกปัด

ประเมินผล

1. สังเกตการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะตามความคิดของตนเอง
2. สังเกตการพัฒนากล้ามเนื้อเล็กโดยกิจกรรมการปะติดเปลือกไข่
3. สังเกตการเลือกและลงมือปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจ
4. สังเกตการเล่าผลงานตามความคิดและจินตนาการได้
5. สังเกตการเก็บของเข้าที่
วันที่ 3 กิจกรรมเสรี
จุดประสงค์

1. เด็กฟังและทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ได้
2. เด็กเลือกเข้ามุมตามความสนใจ
3. เด็กเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกต สำรวจ
4. เด็กสนทนาโต้ตอบกับเพื่อน
5. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงเมื่อได้ยินสัญญาณเตือนให้เปลี่ยนมุม
6. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่

เนื้อหา
1. มุมวิทยาศาสตร์ เนื้อหาที่ต้องการคือ การนำไข่ของจริงมาให้เด็กได้สัมผัส

กิจกรรม
1. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนการเล่น
- ไม่ส่งเสียงดัง
- เล่นเสร็จเก็บของเข้าที่
- แบ่งปันสิ่งของ
2. เด็กเลือกและทำกิจกรรมในมุมเสรีที่เลือก
3. ครูให้สัญญาณเตือนให้เด็กเปลี่ยนมุม
4. เด็กๆ ช่วยกันเก็บอุปกรณ์เข้าที
สื่อการสอน
1.มุมวิทยาศาสตร์
2. มุมหนังสือ
3.มุมตุ๊กตา
4. มุมดนตรี
5. มุมบล็อก

ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์
2. สังเกตการเลือกเข้ามุมตามความสนใจ
3. สังเกตการเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกต สำรวจ
4. สังเกตการสนทนาโต้ตอบกับเพื่อน
5. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลงเมื่อได้ยินสัญญาณเตือนให้เปลี่ยนมุม
6. สังเกตการช่วยกันเก็บของเข้าที่

วันที่ 3 กิจกรรมกลางแจ้ง
จุดประสงค์

1. เด็กสามารถเคลื่อนไหวร่างกายอย่างคล่องแคล่ว
2. เด็กมีความสุขในการทำกิจกรรมการเล่นเกม
3. เด็กสามารถปฏิบัติตามข้อตกลงได้
4. เด็กสามารถทำความสะอาดร่างกายหลังจากการเล่นเกม

เนื้อหา
ห้องนิ่ม

กิจกรรม
1. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนการเล่น ห้องนิ่ม
2. เด็กเล่นห้องนิ่ม
3. ครูคอยดูแลเด็กอย่างใกล้ชิด
4. เด็กทำความสะอาดร่างกายหลังจากเล่น


สื่อการเรียน
ห้องนิ่ม

ประเมินผล
1. สังเกตการเคลื่อนไหวร่างกายอย่างคล่องแคล่ว
2. สังเกตการมีความสุขในการทำกิจกรรมการเล่นเกม
3. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลง
4. สังเกตการทำความสะอาดร่างกายหลังจากการเล่นเกม


วันที่ 3 กิจกรรมเกมการศึกษา
จุดประสงค์
1. เด็กตั้งใจฟังคำแนะนำในการเล่นเกมได้
2. เด็กสามารถเล่นเกมใหม่คือ เกม จับคู่ภาพกับเงา
3. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลง
4. เด็กรู้จักเอื้อเฟื้อและรอคอย
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้

เนื้อหา
เกม จับคู่ภาพกับเงา

กิจกรรม
1. ครูแนะนำและสาธิตการเล่นเกม จับคู่ภาพกับเงา
2. แบ่งกลุ่มเด็กตามความสนใจ
3. เด็กแต่ละกลุ่มเล่นเกม จับคู่ภาพกับเงา และเกมที่เคยเล่นแล้ว
4. เด็กตรวจสอบความถูกต้องและผลัดเปลี่ยนกันเล่นเกม
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่

สื่อการเรียน
1. เกม จับคู่ภาพกับเงา
2. เกมที่เคยเล่นแล้ว

ประเมินผล
1. สังเกตการตั้งใจฟังคำแนะนำในการเล่นเกม
2. สังเกตการเล่นเกมใหม่คือ เกม จับคู่ภาพกับเงา
3. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลง
4. สังเกตการรู้จักเอื้อเฟื้อและรอคอย
5. สังเกตการช่วยกันเก็บของเข้าที่


แผนการจัดประสบการณ์ เรื่อง ไข่ วันที่ 4

วันที่ 4 กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
1. เด็กสามารถเคลื่อนไหวประกอบผ้าเช็ดหน้าได้
2. เด็กสามารถเคลื่อนไหวตามจังหวะการเคาะของครู
3. เด็กเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกาย


เนื้อหา
1. การเคลื่อนไหวประกอบผ้าเช็ดหน้า
2. จังหวะการเคาะของครู

กิจกรรม
1. เด็กปฏิบัติกิจกรรมเคลื่อนไหวพื้นฐานโดยการกลิ้งตัว กระโดด เขย่งปลายเท้า นอน ลุก นั่ง เดินไปรอบๆ ห้อง
2. เด็กเคลื่อนไหวประกอบกับช้าเช็ดหน้าตามจังหวะการเคาะของครู
3. เด็กหยุดพักผ่อนคลายกล้ามเนื้อ

สื่อการเรียน
1. เครื่องกำกับจังหวะ แทมโบรีน
2. ผ้าเช็ดหน้า

ประเมินผล
1. สังเกตการเคลื่อนไหวประกอบผ้าเช็ดหน้า
2. สังเกตการสามารถเคลื่อนไหวตามจังหวะการเคาะของครู
3. สังเกตการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกาย


วันที่ 4 กิจกรรมเสริมประสบการณ์
จุดประสงค์
1. เด็กสามารถบอกอาหารที่ทำจากไข่ได้
2. เด็กฟังและตอบคำถามของครูได้
3. เด็กสนทนาโต้ตอบร่วมกับเพื่อนและครูได้

เนื้อหา
อาหารที่ทำจากไข่ ได้แก่ ไข่เจียว ไข้ต้ม ไข่พะโล้ ไข่ตุ๋น ไข่ลูกเขย ไข่ดาว เป็นต้น

กิจกรรม
ขั้นนำ

1. ครูและเด็กร่วมกันร้องเพลง ไข่ พร้อมทั้งทำท่าทางประกอบเพลง

ขั้นสอน
1. ครูและเด็กสนทนาประกอบภาพอาหารที่ทำจากไข่ โดยใช้คำถามดังนี้
“ภาพที่เด็กๆ เห็นคือภาพอะไร”
“ภาพนี้ทำมาจากอะไร”
“นอกจากภาพที่ครูนำมามีภาพอะไรอีกที่ทำมาจากไข่”

ขั้นสรุป
เด็กและครูร่วมกันสรุปถึงอาหารที่ทำจากไข่

สื่อการเรียน
1. เพลง ไข่
2. ภาพไข่เจียว
3. ภาพไข่พะโล้

ประเมินผล
1. สังเกตการบอกอาหารที่ทำจากไข่
2. สังเกตการฟังและตอบคำถามของครู
3. สังเกตการสนทนาโต้ตอบร่วมกับเพื่อนและครู

วันที่ 4 กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
จุดประสงค์

1. เด็กสามารถสร้างสรรค์ผลงานศิลปะตามความคิดของตนเองได้
2. เด็กสามารถพัฒนากล้ามเนื้อใหญ่โดยกิจกรรมการ กลิ้งสีด้วยลูกแก้ว
3. เด็กเลือกและลงมือปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจ
4. เด็กเล่าผลงานตามความคิดและจินตนาการได้
5. เด็กเก็บของเข้าที่

เนื้อหา
ความคิดริเริ่มในการสร้างผลงานที่แปลกใหม่ ความคิดยึดหยุ่นในการมองภาพการกลิ้งสีของเด็ก

กิจกรรม
1. ครูแนะนำและสาธิตวิธีการทำกิจกรรมใหม่ คือ การกลิ้งสีด้วยลูกแก้ว
2. ครูและเด็กร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนการทำกิจกรรม
3. เด็กเลือกทำกิจกรรมตามความสนใจ
4. เด็กลงมือปฏิบัติกิจกรรมตามที่เลือก
5. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟัง
6. เด็กช่วยกันเก็บอุปกรณ์เข้าที่

สื่อการเรียน
1. การกลิ้งสีด้วยลูกแก้ว
2. ปั้นแป้งโด
3. โรยเกลือสี
4. ร้อยลูกปัด
5. วาดภาพสีเทียน

ประเมินผล
1. สังเกตการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะตามความคิดของตนเอง
2. สังเกตการพัฒนากล้ามเนื้อเล็กโดยกิจกรรมการกลิ้งสีด้วยลูกแก้ว
3. สังเกตการเลือกและลงมือปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจ
4. สังเกตการเล่าผลงานตามความคิดและจินตนาการได้
5. สังเกตการเก็บของเข้าที่

วันที่ 4 กิจกรรมเสรี
จุดประสงค์

1. เด็กฟังและทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ได้
2. เด็กเลือกเข้ามุมตามความสนใจ
3. เด็กเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกต สำรวจ
4. เด็กสนทนาโต้ตอบกับเพื่อน
5. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงเมื่อได้ยินสัญญาณเตือนให้เปลี่ยนมุม
6. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่

เนื้อหา
1. มุมวิทยาศาสตร์ เนื้อหาที่ต้องการคือ การนำไข่ของจริงมาให้เด็กได้สัมผัส

กิจกรรม
1. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนการเล่น
- ไม่ส่งเสียงดัง
- เล่นเสร็จเก็บของเข้าที่
- แบ่งปันสิ่งของ
2. เด็กเลือกและทำกิจกรรมในมุมเสรีที่เลือก
3. ครูให้สัญญาณเตือนให้เด็กเปลี่ยนมุม
4. เด็กๆ ช่วยกันเก็บอุปกรณ์เข้าที่

สื่อการเรียน
1. มุมวิทยาศาสตร์
2. มุมหนังสือ
3. มุมตุ๊กตา
4. มุมดนตรี
5. มุมบล็อก

ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์
2. สังเกตการเลือกเข้ามุมตามความสนใจ
3. สังเกตการเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกต สำรวจ
4. สังเกตการสนทนาโต้ตอบกับเพื่อน
5. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลงเมื่อได้ยินสัญญาณเตือนให้เปลี่ยนมุม
6. สังเกตการช่วยกันเก็บของเข้าที่

วันที่ 4 กิจกรรมกลางแจ้ง
จุดประสงค์

1. เด็กบอกข้อตกลงในการเล่นเครื่องเล่นสนามได้
2. เด็กใช้กล้ามเนื้อใหญ่และเล็กในการเล่นเกมกลางแจ้ง
3. เด็กเรียนรู้การระวังรักษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่น
4. เด็กตัดสินใจแก้ปัญหาด้วยตนเอง

เนื้อหา
1. พัฒนากล้ามเนื้อใหญ่ แขน ขา มือ ในการเล่นเครื่องเล่นสนาม
2. พัฒนาทางด้านอารมณ์ โดยเด็กเล่นร่วมกับเพื่อนและมีความสุขในการทำกิจกรรม

กิจกรรม
1. เด็กเตรียมอบอุ่นร่างกายก่อนการเล่น เครื่องเล่นสนาม
2. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนการเล่น เครื่องเล่นสนาม
3. เด็กเล่นเครื่องเล่นสนาม
4. เด็กทำความสะอาดร่างกายหลังจากเล่น

สื่อการเรียน
เครื่องเล่นสนาม

ประเมินผล
1. สังเกตการบอกข้อตกลงในการเล่นเครื่องเล่นสนาม
2. สังเกตการ ใช้กล้ามเนื้อใหญ่และเล็กในการเล่นเครื่องเล่นสนาม
3. สังเกตการเรียนรู้การระวังรักษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่น
4. สังเกตการตัดสินใจแก้ปัญหาด้วยตนเอง


วันที่ 4 กิจกรรมเกมการศึกษา
จุดประสงค์

1. เด็กตั้งใจฟังคำแนะนำในการเล่นเกมได้
2. เด็กสามารถเล่นเกมใหม่คือ เกม อนุกรม
3. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลง
4. เด็กรู้จักเอื้อเฟื้อและรอคอย
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้

เนื้อหา
เกม อนุกรม

กิจกรรม
1. ครูแนะนำและสาธิตการเล่นเกม อนุกรม
2. แบ่งกลุ่มเด็กตามความสนใจ
3. เด็กแต่ละกลุ่มเล่นเกม อนุกรม และเกมที่เคยเล่นแล้ว
4. เด็กตรวจสอบความถูกต้องและผลัดเปลี่ยนกันเล่นเกม
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่

สื่อการเรียน

1. เกม อนุกรม
2. เกมที่เคยเล่นแล้ว

ประเมินผล
1. สังเกตการตั้งใจฟังคำแนะนำในการเล่นเกม
2. สังเกตการเล่นเกมใหม่คือ เกม อนุกรม
3. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลง
4. สังเกตการรู้จักเอื้อเฟื้อและรอคอย
5. สังเกตการช่วยกันเก็บของเข้าที่


แผนการจัดประสบการณ์ เรื่อง ไข่ วันที่ 5

วันที่ 5 กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
จุดประสงค์

1. เด็กสามารถเคลื่อนไหวเลียนแบบท่าทางสัตว์ได้
2. เด็กฟังและปฏิบัติตามสัญญาณ
3. เด็กเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกาย

เนื้อหา
1. การเคลื่อนไหวเลียนแบบท่าทางสัตว์
2. จังหวะ ช้า,เร็ว

กิจกรรม
1. เด็กปฏิบัติกิจกรรมเคลื่อนไหวพื้นฐานโดยให้เคลื่อนไหวไปรอบๆ ห้องเมื่อได้ยินเสียงสัญญาณ หยุด ให้หยุดเคลื่อนไหวทันที
2. เด็กและครูเคลื่อนไหวประกอบผ้าเช็ดหน้า
3. เด็กหยุดพักผ่อนคลายกล้ามเนื้อ
สื่อการเรียน
เครื่องกำกับจังหวะ กลอง

ประเมินผล
1. สังเกตการเคลื่อนไหวประกอบการเลียนแบบท่าทางสัตว์
2. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามสัญญาณ
3. สังเกตการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกาย


วันที่ 5 กิจกรรมเสริมประสบการณ์
จุดประสงค์

1. เด็กฟังและปฏิบัติตามข้อตกลงได้
2. เด็กฟังและตอบคำถามของครูได้
3. เด็กสนทนาโต้ตอบร่วมกับเพื่อนและครูได้

เนื้อหา
การทำอาหาร ไข่อบเนย

กิจกรรม
ขั้นสอน
1. ครูและเด็กทบทวนแผ่นวางแผนและสร้างข้อตกลงกับเด็ก
2. ครูแนะนำอุปกรณ์ในการในการทำไข่อบเนย
3. ครูและเด็กร่วมกันทำไข่อบเนย
4. เด็กและครูร่วมกันรับประทานไข่อบเนย
5. เด็กและครูช่วยกันเก็บอุปกรณ์


สื่อการเรียน
1. เครื่องทำไข่
2. ไข่
3. ช้อน
4. ถ้วย

ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามข้อตกลง
2. สังเกตการฟังและตอบคำถามของครู
3. สังเกตการสนทนาโต้ตอบร่วมกับเพื่อนและครู


กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
จุดประสงค์
1. เด็กสามารถสร้างสรรค์ผลงานศิลปะตามความคิดของตนเองได้
2. เด็กสามารถพัฒนากล้ามเนื้อใหญ่โดยกิจกรรมการปะติดเศษดินสอ
3. เด็กเลือกและลงมือปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจ
4. เด็กเล่าผลงานตามความคิดและจินตนาการได้
5. เด็กเก็บของเข้าที่

เนื้อหา
ความคิดริเริ่มในการสร้างภาพจากการปะติดเศษดินสอ ความคิดละเอียดลออจากการที่เด็กได้ปะติดเศษดินสอเป็นรูปภาพต่างๆ ตามจินตนาการ

กิจกรรม
1. ครูแนะนำและสาธิตวิธีการทำกิจกรรมใหม่ คือ การปะติดเศษดินสอ
2. ครูและเด็กร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนการทำกิจกรรม
3. เด็กเลือกทำกิจกรรมตามความสนใจ
4. เด็กลงมือปฏิบัติกิจกรรมตามที่เลือก
5. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟัง
6. เด็กช่วยกันเก็บอุปกรณ์เข้าที่

สื่อการเรียน
1. ปะติดเศษดินสอ
2. ปั้นแป้งโด
3. การเป่าสี
4. ร้อยลูกปัด
5. วาดภาพสีเทียน

ประเมินผล
1. สังเกตการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะตามความคิดของตนเอง
2. สังเกตการพัฒนากล้ามเนื้อใหญ่โดยกิจกรรมการปะติดเศษดินสอ
3. สังเกตการเลือกและลงมือปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจ
4. สังเกตการเล่าผลงานตามความคิดและจินตนาการได้
5. สังเกตการเก็บของเข้าที่

วันที่ 5 กิจกรรมเสรี
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ได้
2. เด็กเลือกเข้ามุมตามความสนใจ
3. เด็กเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกต สำรวจ
4. เด็กสนทนาโต้ตอบกับเพื่อน
5. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงเมื่อได้ยินสัญญาณเตือนให้เปลี่ยนมุม
6. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่

เนื้อหา
1. มุมวิทยาศาสตร์ เนื้อหาที่ต้องการคือ การนำไข่ของจริงมาให้เด็กได้สัมผัส

กิจกรรม
1. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนการเล่น
- ไม่ส่งเสียงดัง
- เล่นเสร็จเก็บของเข้าที่
- แบ่งปันสิ่งของ
2. เด็กเลือกและทำกิจกรรมในมุมเสรีที่เลือก
3. ครูให้สัญญาณเตือนให้เด็กเปลี่ยนมุม
4. เด็กๆ ช่วยกันเก็บอุปกรณ์เข้าที่

สื่อการเรียน
1. มุมวิทยาศาสตร์
2. มุมหนังสือ
3. มุมตุ๊กตา
4. มุมดนตรี
5. มุมบล็อก

ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์
2. สังเกตการเลือกเข้ามุมตามความสนใจ
3. สังเกตการเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกต สำรวจ
4. สังเกตการสนทนาโต้ตอบกับเพื่อน
5. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลงเมื่อได้ยินสัญญาณเตือนให้เปลี่ยนมุม
6. สังเกตการช่วยกันเก็บของเข้าที่


วันที่ 5 กิจกรรมกลางแจ้ง
จุดประสงค์

1. เด็กสามารถเคลื่อนไหวร่างกายอย่างคล่องแคล่ว
2. เด็กมีความสุขในการทำกิจกรรมการเล่นเกม เก็บไข่ใส่ตะกร้า
3. เด็กสามารถปฏิบัติตามข้อตกลงได้
4. เด็กสามารถทำความสะอาดร่างกายหลังจากการเล่นเกม

เนื้อหา
1. พัฒนากล้ามเนื้อใหญ่ แขน ขา โดยการเล่นเกม เก็บไข่ใส่ตะกร้า
2. พัฒนาอารมณ์และสังคมโดยการเล่นร่วมกับเพื่อน ความสามัคคี การรอคอย

กิจกรรม
1. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนการเล่นเกม เก็บไข่ใส่ตะกร้า
2. ครูอธิบายและสาธิตวิธีการเล่น เกม เก็บไข่ใส่ตะกร้า
3. เด็กทดลองเล่นเกม เก็บไข่ใส่ตะกร้า
4. เด็กเล่นเกม เก็บไข่ใส่ตะกร้า ด้วยตนเอง
5. เด็กทำความสะอาดร่างกายหลังจากเล่นเกม เก็บไข่ใส่ตะกร้า


สื่อการเรียน
เกม เก็บไข่ใส่ตะกร้า

ประเมินผล
1. สังเกตการเคลื่อนไหวร่างกายอย่างคล่องแคล่ว
2. สังเกตการมีความสุขในการทำกิจกรรมการเล่นเกม
3. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลง
4. สังเกตการทำความสะอาดร่างกายหลังจากการเล่นเกม


วันที่ 5 กิจกรรมเกมการศึกษา
จุดประสงค์

1. เด็กตั้งใจฟังคำแนะนำในการเล่นเกมได้
2. เด็กสามารถเล่นเกมใหม่คือ เกม ร้อยเชือกรูปไข่
3. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลง
4. เด็กรู้จักเอื้อเฟื้อและรอคอย
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้

เนื้อหา
เกม ร้อยเชือกรูปไข่

กิจกรรม
1. ครูแนะนำและสาธิตการเล่นเกม ร้อยเชือกรูปไข่
2. แบ่งกลุ่มเด็กตามความสนใจ
3. เด็กแต่ละกลุ่มเล่นเกม ร้อยเชือกรูปไข่ และเกมที่เคยเล่นแล้ว
4. เด็กตรวจสอบความถูกต้องและผลัดเปลี่ยนกันเล่นเกม
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่

สื่อการสอน
1. เกม ร้อยเชือกรูปไข่
2. เกมที่เคยเล่นแล้ว

ประเมินผล
1. สังเกตการตั้งใจฟังคำแนะนำในการเล่นเกม
2. สังเกตการเล่นเกมใหม่คือ เกม ร้อยเชือกรูปไข่
3. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลง
4. สังเกตการรู้จักเอื้อเฟื้อและรอคอย
5. สังเกตการช่วยกันเก็บของเข้าที่








หน่วยการเรียน เรื่อง ผลไม้ วันที่ 8 กันยายน-12 กันยายน 2551





ภาพที่ 1 กิจกรรมเสริมประสบการณ์ ครูนำกล่องผลไม้มาให้เด็กคลำและทายดูว่า ผลไม้ที่อยู่ในกล่องคือผลไม้อะไร













ภาพที่ 2 น้องฟิวส์คลำของที่อยู่ในกล่อง และบอกว่า มันกลมๆ และแข็ง











ภาพที่ 3 ครูนำนำผลไม้มาให้เด็กชิมและให้เด็กทายว่าคือนำผลไม้อะไร เด็กตอบว่า มันมีรสหวาน บางคนบอกไม่อร่อย บางคนบอกว่าอร่อย เด็กทุกคนให้ความสนใจและให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม












ภาพที่ 4 ครูนำเปลือกผลไม้ใส่กล่องปิดฝา แล้วให้เด็กลองดม และทายว่าคือเปลือกของผลไม้อะไร เด็กทุกคนตอบว่า เป็นเปลือกของผลไม้
















ภาพที่ 5 การจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ คือ การพิมพ์ภาพด้วยเปลือกเงาะ เด็กทุกคนตั้งใจทำผลงานของตนเอง









ผนการจัดประสบการณ์ เรื่อง ผลไม้

วันที่ 1 กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
จุดประสงค์
1. เด็กสามารถเคลื่อนไหวประกอบการยืนโดยที่ไม่ซ้ำกันได้
2. เด็กฟังและปฏิบัติตามสัญญาณได้
3. เด็กเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกาย

เนื้อหา
1. การเคลื่อนไหวประกอบการยืน หมายถึง การเคาะแทมโบรินให้เด็กทำท่าทางไปรอบ ๆ ห้องเมื่อได้ยินสัญญาณให้หยุดให้เด็กยืนในที่ไม่ซ้ำกับเพื่อน

กิจกรรม
1. เด็กปฏิบัติกิจกรรมเคลื่อนไหวพื้นฐานโดยการ
เคาะ 1 ครั้ง กระโดด
เคาะ 2 ครั้ง สลัดมือ
เคาะ 3 ครั้ง หมุนตัว
2. เด็กเคลื่อนไหวตามจังหวะการเคาะของครู
3. เด็กเคลื่อนไหวประกอบการยืน โดยให้เคลื่อนไหวไปรอบๆ ห้อง เคาะ 2 ครั้งให้หยุด ยืนในท่าที่ไม่ซ้ำกับเพื่อน
4. เด็กหยุดพักผ่อนคลายกล้ามเนื้อ

สื่อการเรียน
1. เครื่องกำกับจังหวะ แทมโบรีน

ประเมินผล
1. สังเกตการเคลื่อนไหวประกอบการยืนโดยที่ไม่ซ้ำกัน
2. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามสัญญาณ
3. สังเกตการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกาย

วันที่ 1 กิจกรรมเสริมประสบการณ์
จุดประสงค์
1. เด็กสามารถบอกชื่อผลไม้ชนิดต่างๆที่เด็กรู้จักได้
2. เด็กฟังและตอบคำถามของครูได้
3. เด็กสนทนาโต้ตอบร่วมกับเพื่อนและครูได้

เนื้อหา
ชื่อผลไม้ มังคุด ละมุด ลำไย เงาะ องุ่น มะม่วง มะพร้าว ทุเรียน เป็นต้น

กิจกรรม
ขั้นนำ
1. ครูนำปริศนาคำทาย ผลไม้อะไรเอ่ยที่กลมๆ มีสีเขียว สีเหลืองด้วย บางลูกก็เปรี้ยว บางลูกก็หวาน ( ส้ม )

ขั้นสอน
1. ครูและเด็กสนทนาถึงชื่อของผลไม้แต่ละชนิด
“นอกจากส้มแล้วเด็กๆ รู้จักผลไม้อะไรอีก”
2. ครูให้เด็กบอกชื่อผลไม้ที่เด็กๆ รู้จักคนละ 1 ชื่อ

ขั้นสรุป
เด็กและครูร่วมกันสรุปถึงชื่อของผลไม้โดยให้ออกมาหยิบและบอกชื่อผลไม่ให้ถูกต้อง

สื่อการเรียน
1. ปริศนาคำทาย
2. ภาพผลไม้
3. ส้ม ( ของจริง)

ประเมินผล
1. สังเกตการบอกชื่อผลไม้ชนิดต่างๆที่เด็กรู้จัก
2. สังเกตการฟังและตอบคำถามของครู
3. สังเกตการสนทนาโต้ตอบร่วมกับเพื่อนและครู


วันที่ 1 กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
จุดประสงค์
1. เด็กสามารถสร้างสรรค์ผลงานศิลปะตามความคิดของตนเองได้
2. เด็กสามารถพัฒนากล้ามเนื้อใหญ่โดยกิจกรรมการ ปะติดเศษดินสอ
3. เด็กเลือกและลงมือปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจ
4. เด็กเล่าผลงานตามความคิดและจินตนาการได้
5. เด็กเก็บของเข้าที่

เนื้อหา
ความคิดริเริ่มในการสร้างผลงานที่แปลกใหม่ จากการปะติดเศษดินสอ

กิจกรรม
1. ครูแนะนำและสาธิตวิธีการทำกิจกรรมใหม่ คือ การปะติดเศษดินสอ
2. ครูและเด็กร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนการทำกิจกรรม
3. เด็กเลือกทำกิจกรรมตามความสนใจ
4. เด็กลงมือปฏิบัติกิจกรรมตามที่เลือก
5. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟัง
6. เด็กช่วยกันเก็บอุปกรณ์เข้าที่

สื่อการเรียน
1. การปะติดเศษดินสอ



2. ปั้นแป้งโด
3. เป่าสี
4. ร้อยลูกปัด
5. วาดภาพสีเทียน

ประเมินผล
1. สังเกตการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะตามความคิดของตนเอง
2. สังเกตการพัฒนากล้ามเนื้อเล็กโดยกิจกรรมการปะติดเศษดินสอ
3. สังเกตการเลือกและลงมือปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจ
4. สังเกตการเล่าผลงานตามความคิดและจินตนาการได้
5. สังเกตการเก็บของเข้าที่

วันที่ 1 กิจกรรมเสรี
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ได้
2. เด็กเลือกเข้ามุมตามความสนใจ
3. เด็กเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกต สำรวจ
4. เด็กสนทนาโต้ตอบกับเพื่อน
5. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงเมื่อได้ยินสัญญาณเตือนให้เปลี่ยนมุม
6. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่

เนื้อหา
1. มุมผลไม้ เนื้อหาที่ต้องการ ผลไม้จำลอง ผลไม้ของจริง
2. มุมบทบาทสมมติ เพิ่ม รถเข็นขายผลไม้

กิจกรรม
1. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนการเล่น
- ไม่ส่งเสียงดัง

- เล่นเสร็จเก็บของเข้าที่
- แบ่งปันสิ่งของ
2. เด็กเลือกและทำกิจกรรมในมุมเสรีที่เลือก
3. ครูให้สัญญาณเตือนให้เด็กเปลี่ยนมุม
4. เด็กๆ ช่วยกันเก็บอุปกรณ์เข้าที่

สื่อการเรียน
1. มุมวิทยาศาสตร์



2. มุมหนังสือ
3. มุมตุ๊กตา
4. มุมดนตรี
5. มุมบล็อก
6. มุมผลไม้

ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์
2. สังเกตการเลือกเข้ามุมตามความสนใจ
3. สังเกตการเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกต สำรวจ
4. สังเกตการสนทนาโต้ตอบกับเพื่อน
5. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลงเมื่อได้ยินสัญญาณเตือนให้เปลี่ยนมุม
6. สังเกตการช่วยกันเก็บของเข้าที่


วันที่ 1 กิจกรรมกลางแจ้ง
จุดประสงค์

1. เด็กบอกข้อตกลงในการเล่นห้องนิ่มได้
2. เด็กใช้กล้ามเนื้อใหญ่และเล็กในการเล่นห้องนิ่ม
3. เด็กเรียนรู้การระวังรักษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่น
4. เด็กตัดสินใจแก้ปัญหาด้วยตนเอง

เนื้อหา
1. พัฒนากล้ามเนื้อใหญ่ แขน ขา มือ ในการเล่นห้องนิ่ม
2. พัฒนาทางด้านอารมณ์ โดยเด็กเล่นร่วมกับเพื่อนและมีความสุขในการทำกิจกรรม

กิจกรรม
1. เด็กเตรียมอบอุ่นร่างกายก่อนการเล่นห้องนิ่ม
2. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนการห้องนิ่ม
3. เด็กเล่นและทำกิจกรรมในห้องนิ่ม
4. เด็กทำความสะอาดร่างกายหลังจากเล่น

สื่อการเรียน
ห้องนิ่ม

ประเมินผล
1. สังเกตการบอกข้อตกลงในการเล่นห้องนิ่ม
2. สังเกตการ ใช้กล้ามเนื้อใหญ่และเล็กในการเล่นห้องนิ่ม
3. สังเกตการเรียนรู้การระวังรักษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่น
4. สังเกตการตัดสินใจแก้ปัญหาด้วยตนเอง





วันที่ 1 กิจกรรมเกมการศึกษา
จุดประสงค์
1. เด็กตั้งใจฟังคำแนะนำในการเล่นเกมได้
2. เด็กสามารถเล่นเกมใหม่คือ เกม จับคู่ภาพให้สมบูรณ์
3. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลง
4. เด็กรู้จักเอื้อเฟื้อและรอคอย
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้

เนื้อหา
เกม จับคู่ภาพให้สมบูรณ์

กิจกรรม
1. ครูแนะนำและสาธิตการเล่นเกม จับคู่ภาพให้สมบูรณ์
2. แบ่งกลุ่มเด็กตามความสนใจ
3. เด็กแต่ละกลุ่มเล่นเกม จับคู่ภาพให้สมบูรณ์ และเกมที่เคยเล่นแล้ว
4. เด็กตรวจสอบความถูกต้องและผลัดเปลี่ยนกันเล่นเกม
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่

สื่อการเรียน
1. เกม จับคู่ภาพให้สมบูรณ์
2. เกมที่เคยเล่นแล้ว

ประเมินผล
1. สังเกตการตั้งใจฟังคำแนะนำในการเล่นเกม
2. สังเกตการเล่นเกมใหม่คือ เกม จับคู่ภาพให้สมบูรณ์
3. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลง
4. สังเกตการรู้จักเอื้อเฟื้อและรอคอย
5. สังเกตการช่วยกันเก็บของเข้าที่


แผนการจัดประสบการณ์ เรื่อง ผลไม้ วันที่ 2

วันที่ 2 กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
จุดประสงค์

1. เด็กสามารถเคลื่อนไหวการจับกลุ่มตามรูป สี่เหลี่ยม สามเหลี่ยม วงกลมได้
2. เด็กฟังและปฏิบัติตามสัญญาณได้
3. เด็กเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกาย

เนื้อหา
การเคลื่อนไหวจัดกลุ่มรูป สี่เหลี่ยม สามเหลี่ยม วงกลม หมายถึง เด็กเคลื่อนไหวไปรอบๆห้องจากนั้นครูให้สัญญาณให้เด็กวิ่งเข้าไปอยู่ในรูปทรงต่างๆที่กำหนดให้

กิจกรรม
1. เด็กปฏิบัติกิจกรรมเคลื่อนไหวพื้นฐานโดยการเคลื่อนไหวไปรอบๆ ห้องตามจังหวะ ช้า เร็ว เมื่อได้ยินสัญญาณหยุดให้หยุดการเคลื่อนไหวทันที
2. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลง
- ไม่ส่งเสียงดัง
- ไม่แกล้งเพื่อน
3. เด็กเคลื่อนไหวจัดกลุ่มตามรูป สี่เหลี่ยม สามเหลี่ยม วงกลม ไปตามจังหวะการเคาะของครู
4. เด็กหยุดพักผ่อนคลายกล้ามเนื้อ

สื่อการเรียน
1. เครื่องกำกับจังหวะ กลอง

ประเมินผล
1. สังเกตการเคลื่อนไหวการจับกลุ่มตามรูป สี่เหลี่ยม สามเหลี่ยม วงกลม
2. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามสัญญาณ
3. สังเกตการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกาย


วันที่ 2 กิจกรรมเสริมประสบการณ์
จุดประสงค์

1. เด็กสามารถบอกรูปร่างลักษณะของเงาะ ส้ม ฝรั่งได้
2. เด็กฟังและตอบคำถามของครูได้
3. เด็กสนทนาโต้ตอบร่วมกับเพื่อนและครูได้

เนื้อหา
รูปร่างลักษณะของเงาะ มีขน เปลือกหนา มีสีแดง เนื้อข้างในมีสีขาว ส้ม เปลือกมีทั้งสีเขียวและสีเหลือง ลูกกลม เนื้อข้างในเป็น กลีบ มีสีเหลืองอ่อน ส่วน ฝรั่ง มีลักษณะเป็นทรงกรม บางลูกก็จะมีผิวขรุขระ เปลือกมีสีเขียวอ่อน เนื้อข้างในมีสีขาว

กิจกรรม
ขั้นนำ
1. ครูนำกล่องมาให้เด็กสัมผัสผลไม้ โดยการสุ่มเด็ก
2. ให้เด็กทายว่าเป็นผลไม้อะไร

ขั้นสอน
1. ครูนำผลไม้ของจริงมาสนทนากับเด็ก
“ผลไม้ที่เด็กๆ เห็น คือผลไม้อะไร”
“มีรูปร่างลักษณะอย่างไร”
“ผลไม้ทั้ง 3 ชนิดเหมือนหรือต่างกันตรงไหน”
2. ครูให้เด็กสัมผัสผลไม้ทั้ง 3 ชนิด และให้บอกลักษณะสิ่งที่ได้สัมผัส

ขั้นสรุป
เด็กและครูร่วมกันสรุปถึงรูปร่างลักษณะของผลไม้

สื่อการเรียน
1. เงาะ
2. ส้ม
3. ฝรั่ง

ประเมินผล
1. สังเกตการบอกรูปร่างลักษณะของเงาะ ส้ม ฝรั่ง
2. สังเกตการฟังและตอบคำถามของครู
3. สังเกตการสนทนาโต้ตอบร่วมกับเพื่อนและครู


วันที่ 2 กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
จุดประสงค์

1. เด็กสามารถสร้างสรรค์ผลงานศิลปะตามความคิดของตนเองได้
2. เด็กสามารถพัฒนากล้ามเนื้อใหญ่โดยกิจกรรมการ การสลัดสีด้วยแปรงสีฟัน
3. เด็กเลือกและลงมือปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจ
4. เด็กเล่าผลงานตามความคิดและจินตนาการได้
5. เด็กเก็บของเข้าที่

เนื้อหา
ความคิดริเริ่มในการสร้างผลงานที่แปลกใหม่ จากการสลัดสีด้วยแปรงสีฟัน

กิจกรรม
1. ครูแนะนำและสาธิตวิธีการทำกิจกรรมใหม่ คือ การสลัดสีด้วยแปรงสีฟัน
2. ครูและเด็กร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนการทำกิจกรรม
3. เด็กเลือกทำกิจกรรมตามความสนใจ
4. เด็กลงมือปฏิบัติกิจกรรมตามที่เลือก
5. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟัง
6. เด็กช่วยกันเก็บอุปกรณ์เข้าที่

สื่อการเรียน
1. การสลัดสีด้วยแปรงสีฟัน 2. ปั้นแป้งโด 3. ฉีกปะกระดาษ 4. ร้อยลูกปัด
5. วาดภาพสีเทียน

ประเมินผล
1. สังเกตการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะตามความคิดของตนเอง
2. สังเกตการพัฒนากล้ามเนื้อเล็กโดยกิจกรรมการสลัดสีด้วยแปรงสีฟัน
3. สังเกตการเลือกและลงมือปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจ
4. สังเกตการเล่าผลงานตามความคิดและจินตนาการได้
5. สังเกตการเก็บของเข้าที่


วันที่ 2 กิจกรรมเสรี
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ได้
2. เด็กเลือกเข้ามุมตามความสนใจ
3. เด็กเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกต สำรวจ
4. เด็กสนทนาโต้ตอบกับเพื่อน
5. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงเมื่อได้ยินสัญญาณเตือนให้เปลี่ยนมุม
6. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่

เนื้อหา
1. มุมผลไม้ เนื้อหาที่ต้องการ ผลไม้จำลอง ผลไม้ของจริง
2. มุมบทบาทสมมติ เพิ่ม รถเข็นขายผลไม้

กิจกรรม
1. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนการเล่น
- ไม่ส่งเสียงดัง - เล่นเสร็จเก็บของเข้าที่
- แบ่งปันสิ่งของ
2. เด็กเลือกและทำกิจกรรมในมุมเสรีที่เลือก
3. ครูให้สัญญาณเตือนให้เด็กเปลี่ยนมุม
4. เด็กๆ ช่วยกันเก็บอุปกรณ์เข้าที่

สื่อการเรียน
1. มุมวิทยาศาสตร์
2. มุมหนังสือ
3. มุมตุ๊กตา
4. มุมดนตรี
5. มุมบล็อก
6. มุมผลไม้

ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์
2. สังเกตการเลือกเข้ามุมตามความสนใจ
3. สังเกตการเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกต สำรวจ
4. สังเกตการสนทนาโต้ตอบกับเพื่อน
5. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลงเมื่อได้ยินสัญญาณเตือนให้เปลี่ยนมุม
6. สังเกตการช่วยกันเก็บของเข้าที่


วันที่ 2 กิจกรรมกลางแจ้ง
จุดประสงค์
1. เด็กบอกข้อตกลงในการเล่นเกม เก็บผลไม้ได้
2. เด็กใช้กล้ามเนื้อใหญ่และเล็กในการเล่นเกม เก็บผลไม้
3. เด็กเรียนรู้การระวังรักษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่น
4. เด็กตัดสินใจแก้ปัญหาด้วยตนเอง

เนื้อหา
1. พัฒนากล้ามเนื้อใหญ่ แขน ขา มือ ในการเล่นเกม เก็บผลไม้
2. พัฒนาทางด้านอารมณ์ โดยเด็กเล่นร่วมกับเพื่อนและมีความสุขในการทำกิจกรรม

กิจกรรม
1. เด็กเตรียมอบอุ่นร่างกายก่อนการเล่นเกม เก็บผลไม้
2. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนการเกม เก็บผลไม้
3. เด็กเล่นเกม เก็บผลไม้
4. เด็กทำความสะอาดร่างกายหลังจากเล่นเกม เก็บผลไม้

สื่อการเรียน
เกม เก็บผลไม้

ประเมินผล
1. สังเกตการบอกข้อตกลงในการเล่นเกม เก็บผลไม้
2. สังเกตการ ใช้กล้ามเนื้อใหญ่และเล็กในการเล่นเกม เก็บผลไม้
3. สังเกตการเรียนรู้การระวังรักษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่น
4. สังเกตการตัดสินใจแก้ปัญหาด้วยตนเอง


วันที่ 2 กิจกรรมเกมการศึกษา
จุดประสงค์

1. เด็กตั้งใจฟังคำแนะนำในการเล่นเกมได้
2. เด็กสามารถเล่นเกมใหม่คือ เกม โดมิโนภาพ-ภาพ
3. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลง
4. เด็กรู้จักเอื้อเฟื้อและรอคอย
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้

เนื้อหา
เกม โดมิโนภาพ-ภาพ

กิจกรรม
1. ครูแนะนำและสาธิตการเล่นเกมโดมิโนภาพ-ภาพ
2. แบ่งกลุ่มเด็กตามความสนใจ
3. เด็กแต่ละกลุ่มเล่นเกม โดมิโนภาพ-ภาพ และเกมที่เคยเล่นแล้ว
4. เด็กตรวจสอบความถูกต้องและผลัดเปลี่ยนกันเล่นเกม
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่

สื่อการเรียน
1. เกม โดมิโนภาพ-ภาพ
2. เกมที่เคยเล่นแล้ว

ประเมินผล
1. สังเกตการตั้งใจฟังคำแนะนำในการเล่นเกม
2. สังเกตการเล่นเกมใหม่คือ เกม โดมิโนภาพ-ภาพ
3. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลง
4. สังเกตการรู้จักเอื้อเฟื้อและรอคอย
5. สังเกตการช่วยกันเก็บของเข้าที่


แผนการจัดประสบการณ์ เรื่อง ผลไม้ วันที่ 3

วันที่ 3 กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
จุดประสงค์
1. เด็กสามารถเคลื่อนไหวประกอบภาพผลไม้ได้
2. เด็กฟังและปฏิบัติตามสัญญาณได้
3. เด็กเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกาย

เนื้อหา
1. การเคลื่อนไหวประกอบภาพผลไม้ หมายถึง เคลื่อนไหวร่างกายไปพร้อมกับภาพ เมื่อได้ยินสัญญาณหยุดจากครู ให้เด็กจับคู่ภาพที่เหมือน

กิจกรรม
1. เด็กปฏิบัติกิจกรรมเคลื่อนไหวพื้นฐานโดยการเคลื่อนไหวไปรอบๆ ห้องตามจังหวะ ช้า เร็ว เมื่อได้ยินสัญญาณหยุดให้หยุดการเคลื่อนไหวทันที
2. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลง
- ไม่ส่งเสียงดัง - ไม่แกล้งเพื่อน - ไม่ชนเพื่อน
3. ครูแจกภาพผลไม้ให้คนละ 1 ภาพ จากนั้นให้เคลื่อนไหวประกอบภาพผลไม้
4. เด็กหยุดพักผ่อนคลายกล้ามเนื้อ

สื่อการเรียน
1. เครื่องกำกับจังหวะ กลอง 2. ภาพผลไม้

ประเมินผล
1. สังเกตการเคลื่อนไหวประกอบภาพผลไม้
2. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามสัญญาณ
3. สังเกตการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกาย


วันที่ 3 กิจกรรมเสริมประสบการณ์
จุดประสงค์
1. เด็กสามารถดมกลิ่นผลไม้และบอกชื่อได้
2. เด็กสามารถชิมรสและบอกชื่อผลไม้ที่ให้ชิมได้
3. เด็กฟังและตอบคำถามของครูได้
4. เด็กแสดงความคิดเห็นและยอมรับฟังความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น

เนื้อหา
การชิมรสและการดมกลิ่นของผลไม้

กิจกรรม
ขั้นนำ

1. เด็กและครูร่วมกันร้องเพลง แตงโม พร้อมทั้งทำท่าทางประกอบเพลงตามจินตนาการ
2. เด็กและครูร่วมกันสนทนาถึงเนื้อเพลง

ขั้นสอน
1. ครูนำผลไม้ใส่กล่องให้เด็กดมกลิ่น
“สิ่งที่ได้ดมไปมีกลิ่นเป็นอย่างไร”
“ใครทราบบ้างว่าสิ่งที่ดมไปแล้วมันคืออะไร” ( เปลือกส้ม )
2. จากนั้นให้เด็กชิมรสของนำผลไม้
“จากที่ได้ชิมไปแล้วเด็กๆคิกว่ามันคืออะไร”
“มีรสชาติเป็นอย่างไร”

ขั้นสรุป
เมื่อได้ชิมรสและดมกลิ่นแล้วให้เด็กไปหยิบภาพที่เหมือนกับน้ำผลไม้นี้

สื่อการเรียน
1. เพลง แตงโม 2. กล่องสำหรับดมกลิ่น 3. แก้วน้ำสำหรับชิมรสผลไม้

ประเมินผล
1. สังเกตการดมกลิ่นผลไม้และบอกชื่อได้
2. สังเกตการ ชิมรสและบอกชื่อผลไม้ที่ให้ชิมได้
3. สังเกตการฟังและตอบคำถามของครูได้
4. สังเกตการแสดงความคิดเห็นและยอมรับฟังความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น







วันที่ 3 กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
จุดประสงค์
1. เด็กสามารถสร้างสรรค์ผลงานศิลปะตามความคิดของตนเองได้
2. เด็กสามารถพัฒนากล้ามเนื้อใหญ่โดยกิจกรรมการ ภาพล่องหน
3. เด็กเลือกและลงมือปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจ
4. เด็กเล่าผลงานตามความคิดและจินตนาการได้
5. เด็กเก็บของเข้าที่

เนื้อหา
ความคิดริเริ่มในการสร้างผลงานที่แปลกใหม่ จากการทำภาพล่องหน ความคิดยึดหยุ่น ในการมองภาพที่เด็กสร้างขึ้นมา

กิจกรรม
1. ครูแนะนำและสาธิตวิธีการทำกิจกรรมใหม่ คือ ภาพล่องหน
2. ครูและเด็กร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนการทำกิจกรรม
3. เด็กเลือกทำกิจกรรมตามความสนใจ
4. เด็กลงมือปฏิบัติกิจกรรมตามที่เลือก
5. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟัง
6. เด็กช่วยกันเก็บอุปกรณ์เข้าที่

สื่อการเรียน
1. ภาพล่องหน






2. ปั้นแป้งโด


3. โรยเกลือสี
4. ร้อยลูกปัด
5. วาดภาพสีเทียน

ประเมินผล
1. สังเกตการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะตามความคิดของตนเอง
2. สังเกตการพัฒนากล้ามเนื้อเล็กโดยกิจกรรมการภาพล่องหน
3. สังเกตการเลือกและลงมือปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจ
4. สังเกตการณ์เล่าผลงานตามความคิดและจินตนาการได้
5. สังเกตการเก็บของเข้าที่


วันที่ 3 กิจกรรมเสรี
จุดประสงค์

1. เด็กฟังและทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ได้
2. เด็กเลือกเข้ามุมตามความสนใจ
3. เด็กเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกต สำรวจ
4. เด็กสนทนาโต้ตอบกับเพื่อน
5. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงเมื่อได้ยินสัญญาณเตือนให้เปลี่ยนมุม
6. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่

เนื้อหา
1. มุมผลไม้ เนื้อหาที่ต้องการ ผลไม้จำลอง ผลไม้ของจริง
2. มุมบทบาทสมมติ เพิ่ม รถเข็นขายผลไม้

กิจกรรม
1. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนการเล่น
- ไม่ส่งเสียงดัง - เล่นเสร็จเก็บของเข้าที่
- แบ่งปันสิ่งของ
2. เด็กเลือกและทำกิจกรรมในมุมเสรีที่เลือก
3. ครูให้สัญญาณเตือนให้เด็กเปลี่ยนมุม
4. เด็กๆ ช่วยกันเก็บอุปกรณ์เข้าที่

สื่อการเรียน
1. มุมวิทยาศาสตร์

2. มุมหนังสือ






3. มุมตุ๊กตา





4. มุมดนตรี





5. มุมบล็อก
6. มุมผลไม้

ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์
2. สังเกตการเลือกเข้ามุมตามความสนใจ
3. สังเกตการเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกต สำรวจ
4. สังเกตการสนทนาโต้ตอบกับเพื่อน
5. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลงเมื่อได้ยินสัญญาณเตือนให้เปลี่ยนมุม
6. สังเกตการช่วยกันเก็บของเข้าที่


วันที่ 3 กิจกรรมกลางแจ้ง
จุดประสงค์
1. เด็กบอกข้อตกลงในการเล่นเครื่องเล่นสนามได้
2. เด็กใช้กล้ามเนื้อใหญ่และเล็กในการเล่นเครื่องเล่นสนาม
3. เด็กเรียนรู้การระวังรักษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่น
4. เด็กตัดสินใจแก้ปัญหาด้วยตนเอง

เนื้อหา
1. พัฒนากล้ามเนื้อใหญ่ แขน ขา มือ ในการเล่นเครื่องเล่นสนาม
2. พัฒนาทางด้านอารมณ์ โดยเด็กเล่นร่วมกับเพื่อนและมีความสุขในการทำกิจกรรม

กิจกรรม
1. เด็กเตรียมอบอุ่นร่างกายก่อนการเล่นเครื่องเล่นสนาม
2. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนการเล่นเครื่องเล่นสนาม
3. เด็กเล่นเครื่องเล่นสนาม
4. เด็กทำความสะอาดร่างกายหลังจากเล่นเครื่องเล่นสนาม

สื่อการเรียน
เครื่องเล่นสนาม

ประเมินผล
1. สังเกตการบอกข้อตกลงในการเล่นเครื่องเล่นสนาม
2. สังเกตการ ใช้กล้ามเนื้อใหญ่และเล็กในการเล่นเครื่องเล่นสนาม
3. สังเกตการเรียนรู้การระวังรักษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่น
4. สังเกตการตัดสินใจแก้ปัญหาด้วยตนเอง






วันที่ 3 กิจกรรมเกมการศึกษา
จุดประสงค์
1. เด็กตั้งใจฟังคำแนะนำในการเล่นเกมได้
2. เด็กสามารถเล่นเกมใหม่คือ เกม สังเกตรายละเอียดภาพ
3. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลง
4. เด็กรู้จักเอื้อเฟื้อและรอคอย
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้

เนื้อหา
เกม สังเกตรายละเอียดภาพ

กิจกรรม
1. ครูแนะนำและสาธิตการเล่นเกมสังเกตรายละเอียดภาพ
2. แบ่งกลุ่มเด็กตามความสนใจ
3. เด็กแต่ละกลุ่มเล่นเกม สังเกตรายละเอียดภาพ และเกมที่เคยเล่นแล้ว
4. เด็กตรวจสอบความถูกต้องและผลัดเปลี่ยนกันเล่นเกม
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่

สื่อการเรียน
1. เกม สังเกตรายละเอียดภาพ
2. เกมที่เคยเล่นแล้ว

ประเมินผล
1. สังเกตการตั้งใจฟังคำแนะนำในการเล่นเกม
2. สังเกตการเล่นเกมใหม่คือ เกม สังเกตรายละเอียดภาพ
3. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลง
4. สังเกตการรู้จักเอื้อเฟื้อและรอคอย
5. สังเกตการช่วยกันเก็บของเข้าที่

แผนการจัดประสบการณ์ เรื่อง ผลไม้ วันที่ 4

วันที่ 4 กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
จุดประสงค์
1. เด็กสามารถเคลื่อนไหวประกอบภาพเชือกได้
2. เด็กฟังและปฏิบัติตามสัญญาณได้
3. เด็กเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกาย

เนื้อหา
1. การเคลื่อนไหวประกอบเชือก หมายถึง การนำเชือกมาต่อเป็นรูปต่างๆ ตามจินตนาการ จะต่อคนเดียว สองคน หรือมากกว่านั้นก็ได้
2. จังหวะการเคาะของครู

กิจกรรม
1. เด็กปฏิบัติกิจกรรมเคลื่อนไหวพื้นฐานโดยการเคลื่อนไหวไปรอบๆ ห้องตามจังหวะ ช้า เร็ว เมื่อได้ยินสัญญาณหยุดให้หยุดการเคลื่อนไหวทันที
2. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลง
- ไม่ส่งเสียงดัง - ไม่แกล้งเพื่อน - ไม่ชนเพื่อน
3. เด็กเคลื่อนไหวประกอบเชือกตามจินตนาการ
4. เด็กหยุดพักผ่อนคลายกล้ามเนื้อ

สื่อการเรียน
1. เครื่องกำกับจังหวะ กลอง
2. เชือก

ประเมินผล
1. สังเกตการเคลื่อนไหวประกอบภาพเชือก
2. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามสัญญาณ
3. สังเกตการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกาย


วันที่ 4 กิจกรรมเสริมประสบการณ์
จุดประสงค์
1. เด็กสามารถบอกประโยชน์และโทษของผลไม้ได้
2. เด็กฟังและตอบคำถามของครูได้
3. เด็กแสดงความคิดเห็นและยอมรับฟังความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น

เนื้อหา
ประโยชน์ของผลไม้ คือ มีวิตามินซี บางพันธ์ช่วยในการขับถ่าย เช่น มะละกอ ส้ม ส่วนโทษบางชนิดจะมีโทษ เช่น ลำไย ทานมากก็จะทำให้ร้อนใน

กิจกรรม
ขั้นนำ
1. เด็กและครูร่วมกันร้องเพลง ผลไม้ไทย พร้อมทั้งทำท่าทางประกอบเพลง
2. เด็กและครูสนทนาถึงเนื้อเพลง
“มีผลไม้อะไรบ้าง”





ขั้นสอน
1. เด็กและครูสนทนาถึงประโยชน์และโทษของผลไม้
“ผลไม้อะไรบ้างที่มีประโยชน์”
“ผลไม้นั้นมีประโยชน์อย่างไร”
“ผลไม้อะไรที่ทำให้เป็นโทษ”
2. ครูให้เด็กออกมาหยิบภาพผลไม้ที่มีประโยชน์





ขั้นสรุป
เด็กและครูร่วมกันสรุปถึงประโยชน์และโทษของผลไม้

สื่อการเรียน
1. เพลง ผลไม้ไทย
2. ภาพผลไม้

ประเมินผล
1. สังเกตการบอกประโยชน์และโทษของผลไม้
2. สังเกตการฟังและตอบคำถามของครูได้
3. สังเกตการแสดงความคิดเห็นและยอมรับฟังความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น

วันที่ 4 กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
จุดประสงค์

1. เด็กสามารถสร้างสรรค์ผลงานศิลปะตามความคิดของตนเองได้
2. เด็กสามารถพัฒนากล้ามเนื้อใหญ่โดยกิจกรรม กลิ้งกระป๋อง
3. เด็กเลือกและลงมือปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจ
4. เด็กเล่าผลงานตามความคิดและจินตนาการได้
5. เด็กเก็บของเข้าที่

เนื้อหา
ความคิดริเริ่มในการสร้างผลงานที่แปลกใหม่ จากการกลิ้งกระป๋อง ความคิดยึดหยุ่น ในการมองภาพที่เด็กสร้างขึ้นมา

กิจกรรม
1. ครูแนะนำและสาธิตวิธีการทำกิจกรรมใหม่ คือ การกลิ้งกระป๋อง
2. ครูและเด็กร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนการทำกิจกรรม
3. เด็กเลือกทำกิจกรรมตามความสนใจ
4. เด็กลงมือปฏิบัติกิจกรรมตามที่เลือก
5. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟัง
6. เด็กช่วยกันเก็บอุปกรณ์เข้าที่

สื่อการเรียน
1. การกลิ้งกระป๋อง
2. ปั้นแป้งโด
3. ปะ ติด กระดาษ
4. ร้อยลูกปัด
5. วาดภาพสีเทียน

ประเมินผล
1. สังเกตการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะตามความคิดของตนเอง
2. สังเกตการพัฒนากล้ามเนื้อใหญ่โดยกิจกรรมการกลิ้งกระป๋อง
3. สังเกตการเลือกและลงมือปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจ
4. สังเกตการณ์เล่าผลงานตามความคิดและจินตนาการได้
5. สังเกตการเก็บของเข้าที่

วันที่ 4 กิจกรรมเสรี
จุดประสงค์

1. เด็กฟังและทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ได้
2. เด็กเลือกเข้ามุมตามความสนใจ
3. เด็กเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกต สำรวจ
4. เด็กสนทนาโต้ตอบกับเพื่อน
5. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงเมื่อได้ยินสัญญาณเตือนให้เปลี่ยนมุม
6. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่

เนื้อหา
1. มุมผลไม้ เนื้อหาที่ต้องการ ผลไม้จำลอง ผลไม้ของจริง
2. มุมบทบาทสมมติ เพิ่ม รถเข็นขายผลไม้

กิจกรรม
1. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนการเล่น
- ไม่ส่งเสียงดัง - เล่นเสร็จเก็บของเข้าที่
- แบ่งปันสิ่งของ
2. เด็กเลือกและทำกิจกรรมในมุมเสรีที่เลือก
3. ครูให้สัญญาณเตือนให้เด็กเปลี่ยนมุม
4. เด็กๆ ช่วยกันเก็บอุปกรณ์เข้าที่

สื่อการเรียน
1. มุมวิทยาศาสตร์
2. มุมหนังสือ
3. มุมตุ๊กตา
4. มุมดนตรี
5. มุมบล็อก
6. มุมผลไม้

ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์
2. สังเกตการเลือกเข้ามุมตามความสนใจ
3. สังเกตการเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกต สำรวจ
4. สังเกตการสนทนาโต้ตอบกับเพื่อน
5. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลงเมื่อได้ยินสัญญาณเตือนให้เปลี่ยนมุม
6. สังเกตการช่วยกันเก็บของเข้าที่

วันที่ 4 กิจกรรมกลางแจ้ง
จุดประสงค์
1. เด็กบอกข้อตกลงในการเล่นเกม ส่งบอลใต้ขาได้
2. เด็กใช้กล้ามเนื้อใหญ่และเล็กในการเล่นเกม ส่งบอลใต้ขา
3. เด็กเรียนรู้การระวังรักษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่น
4. เด็กตัดสินใจแก้ปัญหาด้วยตนเอง

เนื้อหา
1. พัฒนากล้ามเนื้อใหญ่ แขน ขา มือ ในการเกมส่งบอลใต้ขา
2. พัฒนาทางด้านอารมณ์ โดยเด็กเล่นร่วมกับเพื่อนและมีความสุขในการทำกิจกรรม

กิจกรรม
1. เด็กเตรียมอบอุ่นร่างกายก่อนการเล่นเกมส่งบอลใต้ขา
2. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนการเล่นเกมส่งบอลใต้ขา
3. ครูอธิบายและสาธิตวิธีการเล่นเกม ส่งบอลใต้ขา
4. เด็กเล่นเกมส่งบอลใต้ขา
5. เด็กทำความสะอาดร่างกายหลังจากเล่นเครื่องเล่นสนาม

สื่อการเรียน
เกม ส่งบอลใต้ขา

ประเมินผล
1. สังเกตการบอกข้อตกลงในการเล่นเกมส่งบอลใต้ขา
2. สังเกตการ ใช้กล้ามเนื้อใหญ่และเล็กในการเล่นเกมส่งบอลใต้ขา
3. สังเกตการเรียนรู้การระวังรักษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่น
4. สังเกตการตัดสินใจแก้ปัญหาด้วยตนเอง


วันที่ 4 กิจกรรมเกมการศึกษา
จุดประสงค์
1. เด็กตั้งใจฟังคำแนะนำในการเล่นเกมได้
2. เด็กสามารถเล่นเกมใหม่คือ เกม จิกร์ซอ
3. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลง
4. เด็กรู้จักเอื้อเฟื้อและรอคอย
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้

เนื้อหา
เกม จิกร์ซอ

กิจกรรม
1. ครูแนะนำและสาธิตการเล่นเกม จิกร์ซอ
2. แบ่งกลุ่มเด็กตามความสนใจ
3. เด็กแต่ละกลุ่มเล่นเกม จิกร์ซอ และเกมที่เคยเล่นแล้ว
4. เด็กตรวจสอบความถูกต้องและผลัดเปลี่ยนกันเล่นเกม
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่

สื่อการเรียน
1. เกม จิกร์ซอ
2. เกมที่เคยเล่นแล้ว

ประเมินผล
1. สังเกตการตั้งใจฟังคำแนะนำในการเล่นเกม
2. สังเกตการเล่นเกมใหม่คือ เกม จิกร์ซอ
3. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลง
4. สังเกตการณ์รู้จักเอื้อเฟื้อและรอคอย
5. สังเกตการช่วยกันเก็บของเข้าที่


แผนการจัดประสบการณ์ เรื่อง ผลไม้ วันที่ 5

วันที่ 5 กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
จุดประสงค์
1. เด็กสามารถเคลื่อนไหวประกอบการนั่งโดยที่นั่งในท่าที่ไม่ซ้ำกับเพื่อน
2. เด็กฟังและปฏิบัติตามสัญญาณได้
3. เด็กเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกาย

เนื้อหา
1. การเคลื่อนไหวประกอบการนั่ง หมายถึง เด็กเคลื่อนไหวไปรอบๆ ห้อง เมื่อได้ยินสัญญาณ ให้เด็กนั่งลงในท่าที่ไม่ซ้ำกัน

กิจกรรม
1. เด็กปฏิบัติกิจกรรมเคลื่อนไหวพื้นฐานโดย
เคาะ 1 ครั้ง ให้เด็ก กระโดด
เคาะ 2 ครั้ง ให้เด็ก นั่ง
เคาะ 3 ครั้ง ให้เด็ก เดิน
2. เด็กเคลื่อนไหวซ้ำ 2-3 ครั้ง
3. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลง
- ไม่ส่งเสียงดัง - ไม่แกล้งเพื่อน - ไม่ชนเพื่อน
4. เด็กเคลื่อนไหวประกอบการนั่ง โดยให้เคลื่อนไหวไปรอบๆ ห้อง เมื่อได้ยินสัญญาณให้เด็กหยุดการเคลื่อนไหวและนั่งในท่าที่ไม่ซ้ำกัน
5. เด็กหยุดพักผ่อนคลายกล้ามเนื้อ

สื่อการเรียน
1. เครื่องกำกับจังหวะ กลอง

ประเมินผล
1. สังเกตการเคลื่อนไหวประกอบการนั่งโดยที่นั่งในท่าที่ไม่ซ้ำกับเพื่อน
2. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามสัญญาณ
3. สังเกตการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกาย


วันที่ 5 กิจกรรมเสริมประสบการณ์
จุดประสงค์

1. เด็กสามารถบอกการนำผลไม้ไปแปรรูปเป็นอาหารได้
2. เด็กฟังและตอบคำถามของครูได้
3. เด็กแสดงความคิดเห็นและยอมรับฟังความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น

เนื้อหา
การนำผลไม้ไปแปรรูปเป็นอาหาร ได้แก่ กล้วย นำมาทำเป็น กล้วยตาก กล้วยอบน้ำผึ้ง กล้วยกวน เป็นต้น

กิจกรรม
ขั้นนำ

1. เด็กและครูร่วมกันร้องเพลง ผลไม้ไทย พร้อมทั้งทำท่าทางประกอบเพลงตามจินตนาการ
ขั้นสอน
1. เด็กและครูร่วมกันสนทนาถึงการนำผลไม้ไปแปรรูปเป็นอาหาร
“ใครทราบบ้างว่าผลไม้นอกจากรับประทานแล้วสามารถนำไปทำอะไรได้อีก”
2. ให้เด็กบอกชื่อผลไม้การนำไปแปรรูปอาหาร

ขั้นสรุป
เด็กและครูร่วมกันสรุปถึงการนำผลไม้ไปแปรรูปอาหาร

สื่อการเรียน
1. เพลง ผลไม้ไทย
2. กล้วยกวน
3. กล้วยอบน้ำผึ้ง

ประเมินผล
1. สังเกตการบอกถึงการนำผลไม้ไปแปรรูปเป็นอาหาร
2. สังเกตการฟังและตอบคำถามของครูได้
3. สังเกตการแสดงความคิดเห็นและยอมรับฟังความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น


วันที่ 5 กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
จุดประสงค์

1. เด็กสามารถสร้างสรรค์ผลงานศิลปะตามความคิดของตนเองได้
2. เด็กสามารถพัฒนากล้ามเนื้อใหญ่โดยกิจกรรมการ กลิ้งสีด้วยลูกแก้ว
3. เด็กเลือกและลงมือปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจ
4. เด็กเล่าผลงานตามความคิดและจินตนาการได้
5. เด็กเก็บของเข้าที่

เนื้อหา
ความคิดริเริ่มในการสร้างผลงานที่แปลกใหม่ จากการกลิ้งสีด้วยลูกแก้ว ความคิดยึดหยุ่น ในการมองภาพที่เด็กสร้างขึ้นมา

กิจกรรม
1. ครูแนะนำและสาธิตวิธีการทำกิจกรรมใหม่ คือ กลิ้งสีด้วยลูกแก้ว
2. ครูและเด็กร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนการทำกิจกรรม
3. เด็กเลือกทำกิจกรรมตามความสนใจ
4. เด็กลงมือปฏิบัติกิจกรรมตามที่เลือก
5. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟัง
6. เด็กช่วยกันเก็บอุปกรณ์เข้าที่

สื่อการเรียน
1. กลิ้งสีด้วยลูกแก้ว
2. ปั้นแป้งโด
3. ปะติดกระดาษ
4. ร้อยลูกปัด
5. วาดภาพสีเทียน

ประเมินผล
1. สังเกตการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะตามความคิดของตนเอง
2. สังเกตการพัฒนากล้ามเนื้อเล็กโดยกิจกรรมการภาพล่องหน
3. สังเกตการเลือกและลงมือปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจ
4. สังเกตการณ์เล่าผลงานตามความคิดและจินตนาการได้
5. สังเกตการเก็บของเข้าที่

วันที่ 5 กิจกรรมเสรี
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ได้
2. เด็กเลือกเข้ามุมตามความสนใจ
3. เด็กเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกต สำรวจ
4. เด็กสนทนาโต้ตอบกับเพื่อน
5. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงเมื่อได้ยินสัญญาณเตือนให้เปลี่ยนมุม
6. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่

เนื้อหา
1. มุมผลไม้ เนื้อหาที่ต้องการ ผลไม้จำลอง ผลไม้ของจริง
2. มุมบทบาทสมมติ เพิ่ม รถเข็นขายผลไม้

กิจกรรม
1. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนการเล่น
- ไม่ส่งเสียงดัง - เล่นเสร็จเก็บของเข้าที่
- แบ่งปันสิ่งของ
2. เด็กเลือกและทำกิจกรรมในมุมเสรีที่เลือก
3. ครูให้สัญญาณเตือนให้เด็กเปลี่ยนมุม
4. เด็กๆ ช่วยกันเก็บอุปกรณ์เข้าที่

สื่อการเรียน
1. มุมวิทยาศาสตร์
2. มุมหนังสือ
3. มุมตุ๊กตา
4. มุมดนตรี
5. มุมบล็อก
6. มุมผลไม้

ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์
2. สังเกตการเลือกเข้ามุมตามความสนใจ
3. สังเกตการเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกต สำรวจ
4. สังเกตการสนทนาโต้ตอบกับเพื่อน
5. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลงเมื่อได้ยินสัญญาณเตือนให้เปลี่ยนมุม
6. สังเกตการช่วยกันเก็บของเข้าที่


วันที่ 5 กิจกรรมกลางแจ้ง
จุดประสงค์
1. เด็กสามารถเคลื่อนไหวร่างกายอย่างคล่องแคล่ว
2. เด็กมีความสุขในการทำกิจกรรมการเล่นห้องนิ่ม
3. เด็กสามารถปฏิบัติตามข้อตกลงได้
4. เด็กสามารถทำความสะอาดร่างกายหลังจากการเล่นห้องนิ่ม

เนื้อหา
ห้องนิ่ม

กิจกรรม
1. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนการเล่น ห้องนิ่ม
2. เด็กเล่นห้องนิ่ม
3. ครูคอยดูแลเด็กอย่างใกล้ชิด
4. เด็กทำความสะอาดร่างกายหลังจากเล่นห้องนิ่ม


สื่อการเรียน
ห้องนิ่ม

ประเมินผล
1. สังเกตการเคลื่อนไหวร่างกายอย่างคล่องแคล่ว
2. สังเกตการมีความสุขในการทำกิจกรรมการเล่นห้องนิ่ม
3. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลง
4. สังเกตการทำความสะอาดร่างกายหลังจากการเล่นห้องนิ่ม


วันที่ 5 กิจกรรมเกมการศึกษา
จุดประสงค์
1. เด็กตั้งใจฟังคำแนะนำในการเล่นเกมได้
2. เด็กสามารถเล่นเกมใหม่คือ เกม จับคู่ภาพเหมือน
3. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลง
4. เด็กรู้จักเอื้อเฟื้อและรอคอย
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้

เนื้อหา
เกม จับคู่ภาพเหมือน

กิจกรรม
1. ครูแนะนำและสาธิตการเล่นเกม จับคู่ภาพเหมือน
2. แบ่งกลุ่มเด็กตามความสนใจ
3. เด็กแต่ละกลุ่มเล่นเกม จับคู่ภาพเหมือน และเกมที่เคยเล่นแล้ว
4. เด็กตรวจสอบความถูกต้องและผลัดเปลี่ยนกันเล่นเกม
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่

สื่อการเรียน
1. เกม จับคู่ภาพเหมือน
2. เกมที่เคยเล่นแล้ว

ประเมินผล
1. สังเกตการตั้งใจฟังคำแนะนำในการเล่นเกม
2. สังเกตการเล่นเกมใหม่คือ เกม จับคู่ภาพเหมือน
3. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลง
4. สังเกตการรู้จักเอื้อเฟื้อและรอคอย
5. สังเกตการช่วยกันเก็บของเข้าที่